Pa Ka Ta

ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ (พระอรหันตโคตมพุทธเจ้า)

Homage to Him The Blessed One: He is the Accomplished One, the Supremely Enlightened One, the Perfect Embodiment of Wisdom and Virtue, the Auspicious Pathfinder, the Knower of All Realms, the Incomparable Tamer of Individuals, the Supreme Master of Gods and Men, the Mightiest in Ten Thousand Universes and too far beyond Gods and Men's imaginations, the Awakened One, the Analyst.

Actually, the incomparable power of the Bra Paramies - the incomparable good deeds of the Gautama Buddha as to the Mightiest of Ariya God is too far beyond people or Gods and Men's imaginations. See the true information via the จูฬนีสูตร/Julani Sutra/Sutta พ. ดูกรอานนท์ นั้นเป็นสาวก ส่วนพระตถาคตนับไม่ถ้วน ท่านพระอานนท์ ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคแม้เป็นครั้งที่ ๓ ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ได้สดับรับฟังมาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคว่า ดูกรอานนท์ สาวกของพระสิขีสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งมีนามว่า อภิภู ยืนอยู่ในพรหมโลกทำให้พันโลกธาตุรู้แจ้งได้ด้วยเสียง พระเจ้าข้า ส่วนพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเล่า ทรงสามารถที่จะทำโลกธาตุเท่าไรให้รู้แจ้งได้ด้วยพระสุรเสียง ฯ

พ. ดูกรอานนท์ เธอได้ฟังเรื่องพันโลกธาตุ เพียงเล็กน้อย ฯ อา. ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ข้าแต่พระสุคต บัดนี้เป็นกาลเวลาแห่งเทศนาที่พระองค์จะพึงตรัส ภิกษุทั้งหลายได้สดับธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้ ฯ

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

1. ปฏิบัติทำวัดสวดมนต์ภาวนาแผ่เมตตาประจำวัน และปฏิบัติถือศีล ๕ ข้อ ขึ้นไป ฯ

ข้าพเจ้าได้สดับอย่างนี้ สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวันวิหาร อารามที่อนาถบิณฑิกเศรษฐีสร้างถวายใกล้กรุงสาวัตถีในครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงตรัสแก่พระภิกษุทั้งหลายว่า “ดูก่อนภิกษุทังหลาย” พระภิกษุเหล่านั้นจึงทูลขาลรับ “พระเจ้าพุทธเจ้าข้า” พระพุทธองค์ทรงตรัสดังนี้ว่า [๕๗๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลเสพแล้วเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ทำให้เป็นดังยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ตั้งไว้เนืองๆอบรมแล้ว ปรารภดีแล้ว อานิสงส์ ๑๑ ประการเป็นอันหวังได้ อานิสงส์ ๑๑ ประการเป็นไฉน คือ ผู้เจริญเมตตาย่อมหลับเป็นสุข ๑ ตื่นเป็นสุข ๑ ไม่ฝันลามก ๑ ย่อมเป็นที่รักของมนุษย์ ๑ ย่อมเป็นที่รักของอมนุษย์ ๑ เทวดาย่อมรักษา ๑ ไฟ ยาพิษ หรือศาตราย่อมไม่กล้ำกราย ๑ จิตของผู้เจริญเมตตาเป็นสมาธิได้รวดเร็ว ๑ สีหน้าของผู้เจริญเมตตาย่อมผ่องใส ๑ ย่อมไม่หลงใหลกระทำกาละ ๑ เมื่อยังไม่แทงตลอดธรรมอันยิ่งย่อมเข้าถึงพรหมโลก ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลเสพแล้ว เจริญแล้ว ทำให้มากแล้วทำให้เป็นดังยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ตั้งไว้เนืองๆ อบรมแล้วปรารภดีแล้วอานิสงส์ ๑๑ ประการนี้เป็นอันหวังได้ ฯ ยุคนัทธวรรค เมตตากถา - สาวัตถีนิทาน Updated: 22/01/2015., 22:51:41-45-51-54-55-56-57-58-59., 16/08/2016 18:48-51:45., 16/01/2023 22:51:41-45-51-54-55-56-57-58-59., 17/01/2023 04:41:51-54-55-56-57-58-59., 19/01/2023 22:13-14:41-45-51-54-55-56-57-58-59.

๒. มหานิทานสูตร (๑๕) มีศีล ๕ ขึ้นไป ฯ ๓. สีลสูตร - ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของคนมีศีล เพราะความถึงพร้อมด้วยศีล ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน คือ คนมีศีล ถึงพร้อมด้วยศีล ในธรรมวินัยนี้ย่อมถึงกองโภคทรัพย์มากมาย ซึ่งเป็นพื้นฐานและเป็นปัจจัยหลักๆ ของแหล่งที่มาของพลังงานการแผ่เมตตามหากุศลนิยม โดยเฉพาะควบคู่ไปกับพลังมหาเมตตามหานิยมที่ได้จากการปฏิบัติ "สมาธิและวิปัสสนากรรมฐาน [๒๐๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าภิกษุเจริญปฐมฌานแม้ชั่วกาลเพียงลัดนิ้วมือ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า อยู่ไม่เหินห่างจากฌาน / [๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง / [๕๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง และจิตนั้นแล พ้นวิเศษแล้วจากอุปกิเลสที่จรมา ฯ / [๕๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าภิกษุซ่องเสพเมตตาจิต แม้ชั่วการเพียงลัดนิ้วมือเดียวเท่านั้น

" ซึ่งเป็นการปฏิบัติ "มหานิทานสูตร (๑๕) สำเร็จเสร็จสรรพไปพร้อมๆ ในเวลาเดียวกัน" แต่ถ้าจะให้เกิดอนิสงค์อย่างแรงกล้าให้ยิ่งๆ ขึ้นไป และอันไม่มีประมาณ ฯ บุคคลนั้นๆ ฯ ควรสวดสาธยายหรือท่องสวด พระสูตรบทนี้ให้จดจำจนขึ้นใจเพื่อให้ได้เข้าถึงแก่นแท้ของพระสูตรบทนี้ ๒. มหานิทานสูตร (๑๕) ฯ และที่สำคัญ โดยเฉพาะเวลาที่บุคคลนั้นๆ ทำการแผ่เมตตาบทใดบทหนึ่งอยู่ก็ดี พลังจิตของการแผ่เมตตาของบุคคลนั้นๆ จะมีพลังมหาเมตตานิยมสูงยิ่งๆ ขึ้นอย่างแรงกล้าและอันไม่มีประมาณ ฯ แล! ๗. มหาสมัยสูตร (๒๐) / ๔. สมยสูตร

สรุป! โดยภาพรวมมีดังนี้คือ พวกมารปีศาจหรือพวกสมมุติตนเป็น "พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ" หรือสัญลักษณ์หลุมดำ/Black Hole/คือเป็นสัญลักษณ์ของการที่โลกไม่มีคือจะต้องว่างหรือว่างจาก "พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ" เป็นอันตรกัปป์ มหาอันตรกัปป์ และประมาณมหาอันตรกัปป์มิได้ ฯ!! เรื่องนี้เป็นความรู้อจินตัย ซึ่งไม่ใช่ความรู้ของบุคคลทั่วไป ฯ คือบุคคลทั่วไปจะไม่สามารถหยั่งรู้เองได้ ฯ" หมายเหตุ: คือมี "พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ เป็นพระบรมครูอันประมาณมิได้ ฯ เป็นตัวอย่าง ฯ ที่กว่า "พระพุทธองค์จะทรงพระบรรลุเป็นพระบรมศาสดาพระองนั้น ฯ สอนพระพุทธศาสนาบนโลกมนุษย์ เทวโลก พรหมโลกได้ ฯ พระโพธิสัตว์เจ้าพระองค์นั้น ฯ จำต้องใช้เวลาสร้างสมบ่มเพาะพระบารมีถึง ๔ อสงค์ไขกับอีกแสนมหากัปป์หรือมากกว่า ฯ" อนึ่ง! ที่สำคัญอย่างยิ่งยวด! ก็ในสมัย "พระพุทธกาลนั้นแล ฯ" กรณีที่พระภิกขุสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งเป็นต้น ฯ ต่างมีความปราถนาที่จะออกธุดงควัตรเพื่อปฏิบัติตามลำพังหรือทั้งกลุ่มพวก ฯ ในท่ามกลางดงป่าชัดแห่งใดแห่งหนึ่งนั้น ฯ พวกพระภิกขุสงฆ์เหล่านี้นั้น ฯ จะต้องได้รับการพิจารณาก่อนอื่นเสมอแล! อนึ่งจะได้รับอนุญาติหรือไม่นั้น ฯ ซึ่งขึ้นอยู่กับการพิเคราะห์และวินิจฉัยจากหรือแด่ "พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ" ดังกล่าวไว้ ณ ที่นี้แล! ฯ Updated: 09/12/2024 07:11-13-22:41-45-51-54-55-565-7-58-59.

อนึ่งว่าถ้างานเขียนและงานแปลธรรมะซึ่งเป็นงานเผยแพร่ธรรมะนั้นง่ายอย่างงานอื่นๆ ในทางโลกทั่วไปและใครๆ ก็เขียนและนำเสนอได้นั้น พระพุทธองค์ ฯ ก็คงไม่ทรงตรัสหัวข้อธรรมะดังต่อไปนี้ " ๑๒. ทักขิณาวิภังคสูตร (๑๔๒) / [๗๑๓] ดูกรอานนท์ ก็ในอนาคตกาล จักมีแต่เหล่าภิกษุโคตรภู มีผ้ากาสาวะพันคอ เป็นคนทุศีล มีธรรมลามก คนทั้งหลายจักถวายทานเฉพาะสงฆ์ได้ในเหล่าภิกษุทุศีลนั้น ดูกรอานนท์ ทักษิณาที่ถึงแล้วในสงฆ์แม้ในเวลานั้น เราก็กล่าวว่า มีผลนับไม่ได้ ประมาณไม่ได้ แต่ว่าเราไม่กล่าวปาฏิปุคคลิกทานว่า มีผลมากกว่าทักษิณาที่ถึงแล้วในสงฆ์โดยปริยายไรๆ เลย ฯ ...... (๓) ผู้ใดทุศีล ได้ของมาโดยไม่เป็นธรรม มีจิตไม่เลื่อมใส ไม่เชื่อกรรมและผลของกรรมอย่างยิ่ง ให้ทานในคนทุศีล เราไม่กล่าวทานของผู้นั้นว่า มีผลไพบูลย์ ฯ จะเห็นได้ว่า "พระพุทธองค์" ทรงให้ความหมายแก่ "ภิกษุทุศีล" ก็คือปุถุชนผู้ทุศีลคนธรรมสามัญทั่วๆ ไป ที่ไม่มีอะไรพิเศษไปมากกว่านี้! พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ / ๖. กาลทานสูตร / ทานสูตร Updated: 12/07/2016 17:37:45., 05/12/2023 22-23:51:41-45-51-54-55-56-57-58-59.

เหตุการณ์ดังกล่าวมานี้ ฯ จึงเป็นสาเหตุหลักๆ ที่ทำให้ข้าพเจ้า รุ้ง/รุ่ง/กิ๊บ/Gift (นางสาว บวรลักษณ์ กริ่งวสุพลศิริ สรุป! ข้าพเจ้าไม่ใช่เด็กหรือผู้หญิงของใคร ฯ แต่ข้าพเจ้าคือ พระศากยบุตรหรือบุตรธิดาแด่ "พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ อันเป็นคุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันคุณพระศรีรัตนตรัยเป็นองค์พระปฐมสูงสุดอันที่สุดอันหาประมาณมิได้ ฯ") ได้รับพระเมตตาความอนุเคราะห์สงค์เคราะห์ส่งหมอบหมายหน้าที่การสืบทอดพระพุทธศาสนาเพื่อมีไว้ค้ำจุลมนุษย์โลกจาก "พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ หรือจาก คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัย/The Triple Gem อันเป็นองค์พระปฐมสูงสุด อันหาที่สุดอันหาประมาณมิได้ ฯ ซึ่งมีพระสูตร [๓๘๒] โคอาชาไนยที่ดี อันเขาเทียมแล้วที่แอกเกวียน ย่อมอาจนำแอกเกวียนไปได้ ไม่ย่อท้อต่อภาระอันหนัก ไม่ทอดทิ้งเกวียนอันเขาเทียมแล้วแม้ฉันใด บุคคลเหล่าใดบริบูรณ์ด้วยปัญญา เหมือนมหาสมุทรอันเต็ม ด้วยน้ำ... อ้างอิงไว้เป็นหลักฐาน เพื่อปฏิบัติหน้าทำการสืบทอดพระพุทธศาสนาผ่านทาง www.buddhamap.org แห่งนี้ เพื่อมีไว้ค้ำจุลมนุษย์โลกเปรียบเสมียนเป็นตัวรากฐานหลัก เป็นตัวเรือนโครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง เป็นขื่อแป ครอบคลุมรอบด้าน และเป็นหลังคาชั้นสูงอันประมาณมิได้ ฯ ให้กับ "สังฆะ" จึงนับได้ว่าเป็นหัวใจหรือศูนย์กลางของ "สังฆะ" ในปัจจุบันนี้และตลอดกาลนานเทอญ ฯ Updated: 00:08-09-10:41-45-51-54-55-56-57-58-59., 19/11/2022 23:17-22:41-45-51-54-55-56-57-58-59., 20/11/2022 00:41-45-51 - 02:22:41-45-51-54-55-56-57-58-59.

๒. มหาสุญญตสูตร (๑๒๒) / พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๖ - มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ / ธชัคคสูตรที่ ๓

พระอภิธรรม 7 คัมภีร์ Note: people who practise meditation should never sit with hands on their knees as you can see in this video, with their fingers and thumbs held together, while practising sitting meditation. One should place the hand upturned on your lap, with your right hand upturned on top of your upturned left hand. The reason for this is to protect your sensitive parts, because meditation is unavoidably involve with, not only the good spirits, but despite the fact that, it's involving with a lot of very bad spirits too. Understandable and sure-enough and particularly, in which, if you get disturbed while meditation, you shouldn't continue and should withdraw your concentration slowly. Sometimes, it is quite hard for the practitioners to withdraw, but do not panic, you should focusing on your concentration from withdrawing. If you want to continue practising meditation, alternatively, you should try walking meditation and to keep your mind fully aware of all your actions, as much as, you possibly can. However, one of image of the white robes god, shouldn't be in this chanting Sutta/Sutra or Prakata/Pakata video. This is because, the real image of this god, doesn't looks like this one, actually, he is looking too perfect and beyond to normal people to imagine. He also attained a very high level of the stage of soul/mind/spirit, known as the Brahama God/the Sakkayabutta God/พระพรหมชั้นพระศากบุตรชั้นสูง หรือ พระพรหมชั้นพระอริยเจ้าชั้นสูงพระองค์นั้น ฯ.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

2. ไหว้พระสวดมนต์ - The Triple Gem

The Buddhist practitioner should kneel while praying in a seated position to do three or nine bows which facing the shrine or The Buddha's shelf, in order that to make a short bow with raising hands with for just slightly folded and facing together for just gently.

คำนมัสการพระรัตนตรัย - กราบสามครั้ง หรือ เก้าครั้ง ณ เบื้องต้น ก่อนริเริ่มทำการเริ่มสวดสาธยาย คือ กราบคุณพระพุทธ กราบคุณพระธรรม กราบคุณพระสงฆ์ ตลอดทั้งระลึกหรือท่องไว้อย่างนี้ว่า "อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัยอันเป็นองค์พระปฐมสูงสุดอันหาที่สุดอันหาประมาณมิได้ ฯ" ไปพร้อมๆ กับการกราบด้วยกันจนครบสามครั้ง และกราบเพิ่มอีกสามครั้ง ไปพร้อมๆ กับการท่องระลึกด้วยคำว่า "สาธุ สาธุ สาธุ ฯ" (รวมกราบทั้งหมดครบจำนวนกราบ ๙ ครั้งพอดีแล)/Bows to The Buddha, The Dhamma, and The Sangha which is based on The Triple Gem nine times.

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา/Araham sammasambuddho bhagava - พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบได้พระองค์เอง;/The Blessed One is the Accomplished One;

พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ/Bhuddham bhakkawandam aphiwadhemi – ข้าพเจ้าอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน (การบลง ๑ หน);/The Supremely Enlightened One. I go to the Buddha for refuge(make a bow or make one's bow to The Buddha);

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม/Savakkhato bhagavata dhammo - พระธรรมเป็นธรรม ที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว;/The Teaching is perfectly enunciated by the Blessed One;

ธัมมัง นะมัสสามิ/Dhammam namasami – ข้าพเจ้านมัสสาการพระธรรม (กราบ ๑ หน);/I go to the Thamma for refuge (make a bow or make one's bow to The Dhamma).

สุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ/Supatipanno bhagavato savakasangho - พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระ ปฏิบัติดีแล้ว;/Of good conduct is the community of noble disciples of the Blessed One.

สังฆัง นะมามิ/Sangham namami – ข้าพเจ้า นอบน้อมพระสงฆ์ (กราบ ๑ หน)/I go to the Sangha for refuge (make a bow or make one's bow to The Sangha).

(You can recite the English text too, if you choose) Updated: 30/10/2017 00:17:45., 03/11/2017 12:59:45.

3. ถวายพรพระ ทำวัดเช้า - เย็น สำหรับ ฆราวาส เพื่อสวดสาธยายพระคาถาพร้อมแปล - คำนะมัสการพระพุทธเจ้า - ปุพพภาคนมการ ฯ - หันทะ มะยัง ภะคะโต ปุพพะภาคะ นะมะ การัง กะโรมะ เส ฯ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต / Namo tassa bhagavato - ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ฯ / Homage to Him, The Blessed One,

อะระหะโต / Arahato - ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ฯ / The Accomplished One,

สัมมาสัมพุทธัสสะ / Samma sambuddhassa. - ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ฯ / The Supremely Enlightened One.

(This is welcome and pleasing to practise three rounds of chanting and you can recite the English text too, if you choose)

3(1). พุทธาภิถุติ - หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ

โย โส ตะถาคะโต - พระตถาคตเจ้านั้น พระองค์ใด;

อะระหัง - เป็นผู้ไกลจากกิเลส;

สัมมาสัมพุทโธ - เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง;

วิชชาจะระณะสัมปันโน - เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ;

สุคะโต - เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี;

โลกะวิทู - เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง;

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ - เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า;

สัตถา เทวะมะนุสสานัง - เป็นครูผู้สอน ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย;

พุทโธ - เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม;

ภะคะวา - เป็นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์;

โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรหมะกัง สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตตะวา ปะเวเทสิ - พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ได้ทรงทำความดับทุกข์ให้แจ้ง ด้วยพระปัญญาอันยิ่งเองแล้ว ทรงสอนโลกนี้พร้อมทั้งเทวดา มาร พรหม และหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดา และมนุษย์ให้รู้ตาม;

โย ธมมัง เทเสสิ - พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ทรงแสดงธรรมแล้ว;

อาทิกัลละยาณัง - ไพเราะในเบื้องต้น;

มัชเฌกัลละยาณัง - ไพเราะในท่ามกลาง;

ปะริโยสานะกัลละยาณัง - ไพเราะในที่สุด;

สาตถัง สะพะยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง ปะกาเสสิ - ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือแบบแห่งการปฏิบัติอันประเสริฐบริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้งเชิง พร้อมทั้งอรรถะ (คำอธิบาย) พร้อมทั้งพยัญชนะ (หัวข้อ);

ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ - ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น;

ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ - ข้าพเจ้าน้อบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ด้วยเศียรเกล้า (กราบระลึกพระพุทธคุณ หนึ่ง (๑) ครั้ง ) ฯ

3(2). ธัมมาภิถุติ - หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ

โย โส สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม - พระธรรมนั้นใด เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสไว้ดีแล้ว;

สัณทิฏฐิโก - เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง;

อะกาลิโก - เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล;

เอหิปัสสิโก - เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด;

โอปะนะยิโก - เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว;

ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ - เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน;

ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ - ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระธรรมนั้น;

ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ - ข้าพเจ้าน้อมน้อมพระธรรมนั้น ด้วยเศียรเกล้า (กราบระลึกพระธรรมคุณ หนึ่ง (๑) ครั้ง) ฯ

3(3). สังฆาภิถุติ - หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ

โย โส สุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ - สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นหมู่ใด ปฏิบัติดีแล้ว;

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ - สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติตรงแล้ว;

ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ - สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรม เป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว;

สามีจิปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ - สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว;

ยะทิทัง - ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ;

จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา - คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุรุษได้ ๘ บุรุษ;

เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ - นั่นแหละสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า;

อาหุเนยโย - เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา;

ปาหุเนยโย - เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ;

ทักขิเณยโย - เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน;

อัญชะลีกะระณีโย - เป็นที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชะลี;

อนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ - เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่นาบุญอื่นยิ่งกว่า;

ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ - ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระสงฆ์หมู่นั้น;

ตะมะหัง สังฆัง สิระส่ นะมามิ - ข้าพเจ้าน้อบน้อมพระสงฆ์หมู่นั้น ด้วยเศียรเกล้า(กราบระลึกพระสงฆ์ หนึ่ง (๑) ครั้ง) ฯ

3(4). รตนัตตยัปปณามคาถา - หันทะ มะยัง ระตะนัตตยัปปณามคาถาโย เจวะ สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะนามะเส ฯ

พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว - พระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์ มีพระกะรุณาดุจห้วงมหรรณพ;

โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน - พระองค์ใด มีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจดถึงที่สุด;

โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก - เป็นผู้ฆ่าเสียซึ่งบาป และอุปกิเลสของโลก;

วันทามิ พุทธัง อะหะเมทะเรนะ ตัง - ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ (กราบ หนึ่ง (๑) ครั้ง);

ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน - พระธรรมของพระศาสดา ฯ สว่างรุ่งเรืองเปรียบดวงประทีป;

โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก - จำแนกประเภท คือ มรรค ผล นิพพาน ส่วนใด;

โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน - ซึ่งเป็นตัวโลกุตตระ และส่วนใดที่ชี้แนวแห่งโลกุตตระนั้น ฯ;

วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง - ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น ฯ โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ (กราบ หนึ่ง (๑) ครั้ง);

สังโฆ สุเขตตาภะยะติเขตตะสัญญิโต - พระสงฆ์เป็นนาบุญอันยิ่งใหญ่กว่านาบุญอันดีทั้งหลาย ฯ;

โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก - เป็นผู้เห็นพระนิพพาน ตรัสรู้ตามพระสุคต หมู่ใด;

โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส - เป็นผู้ละกิเลสเครื่องโลเล เป็นพระอริยเจ้า ฯ มีปัญญาดี;

วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง - ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้น ฯ โดยใจเคารพเอื้อเฟื้อ (กราบ หนึ่ง (๑) ครั้ง);

อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา - บุญใดที่ข้าพเจ้าไหว้อยู่ซึ่งวัตถุสาม คือ พระรัตนตรัย อันควรบูชายิ่ง โดยส่วนเดียว ได้กระทำแล้วเป็นอย่างยิ่งเช่นี้นี้ ขออุปัทวะ (ความชั่ว) ทั้งหลาย ฯ จงอย่ามีแก่ข้าพเจ้าเลย ด้วยอำนาจความสำเร็จอันเกิดจากบุญนั้น ฯ

3(5). สังเวคปริกิตตนปาฐะ ฯ

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน - พระตถาคตเจ้าเกิดขึ้นแล้ว ในโลกนี้;

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ - เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง;

ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก - และพระธรรมที่ทรงแสดง เป็นธรรมเตรื่องออกจากทุกข์;

อุปะสะมะมิโก ปะรินิพพานิโก - เป็นเครื่องสงบกิเลส เป็นไปเพื่อปรินิพพาน;

สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต - เป็นไปเพื่อความรู้พร้อม เป็นธรรมที่พระสุคตประกาศ;

มะยันตัง ธัมมัง สุตตะวา เอวัง ชานามะ - พวกเราเมื่อได้ฟังธรรมนั้นแล้ว จึงได้รู้อย่างนี้ว่า;

ชาติปิ ทุกขา - แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์;

ชะราปิ ทุกขา - แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์;

มะระณัมปิ ทุกขัง - แม้ความตายก็เป็นทุกข์;

โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา - แม้ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์;

อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข - ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์;

ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข - ความพลัดพรากจากสิ่งที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์;

ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง - มีความปราถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้น นั่นก็เป็นทุกข์;

สังขิตเตนะ ปัญญจุปาทานักขันธา ทุกขา - ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธิ์ ๕ เป็นตัวทุกข์;

เสยยะถีทัง - ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ;

รูปูปาทานักขันโธ - ขันธิ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือ รูป;

เวทนูปาทานักขันโธ - ขันธิ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือ เวทนา;

สัญญูปาทานักขันโธ - ขันธิ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือ สัญญา;

สังขารูปาทานักขันโธ - ขันธิ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือ สังขาร;

วิญญาณูปาทานักขันโธ - ขันธิ์ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น คือ วิญญาณ;

เยสัง ปะริญญายะ - เพื่อให้สาวกกำหนดรอบรู้อุปาทานขันธฺ์ เหล่านี้เอง;

ธะระมาโน โส ภะคะวา - จึงพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ฯ เมื่อยังทรงพระชนม์อยู่;

เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ - ย่อมทรงแนะนำสาวกทั้งหลาย ฯ เช่นนี้เป็นส่วนมาก;

เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลาปะวัตตะติ - อนึ่ง คำสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ฯ ย่อมเป็นไปในสาวกทั้งหลาย ฯ ส่วนมาก มีส่วนคือการจำแนกอย่างนี้ว่า;

รูปัง อนิจจัง - รูปไม่เที่ยง;

เวทะนา อะนิจจา - เวทนาไม่เที่ยง;

สัญญา อะนิจจา - สัญญาไม่เที่ยง;

สังขารา อะนิจจา - สังขารไม่เที่ยง;

วิญญาณัง อะนิจจัง - วิญญาณไม่เที่ยง;

รูปัง อะนัตตา - รูปไม่ใช่ตัวตน;

เวทะนา อะนัตตา - เวทนาไม่ใช่ตัวตน;

สัญญา อะนัตตา - สัญญาไม่ใช่ตัวตน;

สังขารา อะนัตตา - สังขารไม่ใช่ตัวตน;

วิญญาณัง อะนัตตา - วิญญาณไม่ใช่ตัวตน;

สัพเพ สังขารา อะนิจจา - สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง;

สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ - ธรรม (อาธิเช่น สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ คือ ธรรมทั้งหลาย เป็นต้น ฯ) ทั้งหลายทั้งปวงไม่ใช่ตัวตนดังนี้;

เต (ชาย - สวดท่องว่า "เต") ตา (หญิง - สวดท่องว่า "ตา") มะยัง โอติณณามหะ - พวกเราทั้งหลาย เป็นผู้ถูกครอบงำแล้ว;

ชาติยา - โดยความเกิด;

ชะรามะระเณนะ - โดยความแก่และความตาย;

โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ - โดยความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ ทั้งหลาย ฯ;

ทุกโขติณณา - เป็นผู้ถูกความทุกข์หยั่งเอาแล้ว;

ทุกขะปะเรตา - เป็นผู้มีความทุกข์เป็นเบื้องหน้าแล้ว;

อัปเปวะนามิมัสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ - ทำไฉน การทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ จะพึงปรากฎชัดแก่เราได้;

(สำหรับอุบาสก-อุบาสิกาสวด)

จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา - เราทั้งหลายผู้ถึงแล้วซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ฯ แม้ปรินิพพานนานแล้ว พระองค์นั้น ฯ เป็นสรณะ;

ธัมมัญจะ สังฆัญจะ - ถึงพระธรรมด้วย ถึงพระสงฆ์ด้วย;

ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยัถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ - จักทำในใจอยู่ ปฏิบัติตามอยู่ ซึ่งคำสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ฯ ตามสติกำลัง;

สา สา โน ปะฏิปัตติ - ขอให้ความปฏิบัตินั้นๆ ของเราทั้งหลาย ฯ;

อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ - จงเป็นไปเพื่อการทำที่สุดแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ เทอญ ฯ

Updated: 24/10/2017 03:13:45.

3(6). ถวายพรพระ - Monk Blessings

บทพุทธคุณ – อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธ วิชชาจาระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ - แม้เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า เป็นครูผู้สอนเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ดังนี้ ฯ

Buddhavandana
Itipi so bhagava araham, Sammasambuddho, Vijjacaranasampano, Sugato, Lokavidu, Anuttaro purisadammasarathi, Sattha devamanussanam, Buddho, Bhagavati. - (I go to the Buddha for refuge; bow once)  Thus indeed is the Blessed One: He is the Accomplished One, the Supremely Enlightened One, the Perfect Embodiment of Wisdom and Virtue, the Auspicious Pathfinder, the Knower of All Realms, the Incomparable Tamer of Individuals, the Supreme Master of Gods and Men, the Awakened One, the Analyst.

บทธรรมคุณ – สะวากขาโต ภะคะวะตา ธรรมโม สัณทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติ ฯ - พระธรรมเป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ดีแล้ว เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ตนเอง เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล เป็นสิ่งที่ชวนให้ผู้อื่นมาดู เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ ฯ

Dhammavandana
Savakkhato Bhagavata Dhammo, sanditthiko, akaliko, ehipassiko, opanayiko, paccattam veditabbo, viñuhiti. - (I go to the Thamma for refuge; bow once)  The Teaching is perfectly enunciated by the Blessed One, it is verifiable here and now, is with immediate fruit, invites all to test it for themselves, leads onward to Nibbana and is to be experienced by the wise, each for himself.

บทสังฆคุณ – สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทังจัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีการะณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ - สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใดปฏิบัติดีแล้ว ปฏิบัติตรงแล้ว ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรม เป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว ปฏิบัติสมควรแล้ว ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุรุษบุคคล ๘ นั่นแหละสงฆ์สาวกของผู้มีพระภาคเจ้า เป็นสงฆ์ควรแก่การสักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ เป็นผู้ควรรับทักษินาทาน เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชะลี เป็นเนื้อนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้ ฯ

Note: คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่: โสดาบัน, สกิทาคามี, อนาคามี, อรหันต์/อรหัตตผล. นับเรียงตัวบุรุษบุคคล ๘: สัตตักขัตตุง (โสดาบันขั้นต้น), โกลังโกละ (โสดาบันขั้นกลาง), เอกพิชี (โสดาบันขั้นละเอียด), สกิทาคามีมรรค, สกิทาคามีผล, อนาคามีมรรค, อนาคามีผล, อรหันต์/อรหัตตผล

Sanghavandana
Supatipanno Bhagavato Savakasangho, Ujupatipanno Bhagavato Savakasangho, Ñayapatipanno Bhagavato Savakasangho, Samicipatipanno Bhagavato Savakasangho; Yadidam cattari purisayugani attha purisapuggala, esa Bhagavato Savakasangho, Ahuneyyo, pahuneyyo, dakkhineyyo, anjalikaraniyo, Anuttaram punnakkhettam lokassati. - (I go to the Sangha for refuge; bow once)  Of good conduct is the community of noble disciples of the Blessed One. Of upright conduct is the community of noble disciples of the Blessed One. Of right conduct is the community of noble disciples of the Blessed One. Of dutiful conduct is the community of noble disciples of the Blessed One; namely, the four pairs of people, the eight types of individuals. This community of noble disciples of the Blessed One is worthy of gifts, of hospitality, of offerings, of reverential salutation and is the incomparable field of merit for the world.

(You can recite the English text too, if you choose)

Note: The four pairs of people are Sopanna, Sakitakami, Anakami and Arahant. The eight types of people are Sattakkattung (Sopanna first level), Golanggola (Sopanna second level), Ekapichi (Sotapattiphon), Sakitakamimak, Sakitakamiphon, Anakamimak, Anakamiphon and Arhantdaphon.

Updated: 22/10/2017 23:24:45.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

4. ไตรสรณคมน์

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ – ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าด้วยความเคารพนอบน้อม ฯ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ – ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมด้วยความเคารพนอบน้อม ฯ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ – ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ด้วยความเคารพนอบน้อม ฯ

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ – แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าด้วยความเคารพนอบน้อม ฯ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ – แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมด้วยความเคารพนอบน้อม ฯ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ – แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ด้วยความเคารพนอบน้อม ฯ

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ – แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าด้วยความเคารพนอบน้อม ฯ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ – แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมด้วยความเคารพนอบน้อม ฯ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ – แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ด้วยความเคารพนอบน้อม ฯ

(พระ) ติสะระณะคะมะนังนิฏฐิตัง  (ฆราวาส) อามะ ภันเต

5.1. Tisaranagamma – Refuges The Triple Gem

Buddham saranam gacchami – I go to the Buddha for refuge
Dhammam saranam gacchami – I go to the Dhamma for refuge
Sangham saranam gacchami – I go to the Sangha for refuge

Dutiyampi Buddham saranam gacchami – For the second time, I go to the Buddha for refuge
Dutiyampi Dhammam saranam gacchami – For the second time, I go to the Dhamma for refuge
Dutiyampi Sangham saranam gacchami – For the second time, I go to the Sangha for refuge

Tatiyampi Buddham saranam gacchami – For the third time, I go to the Buddha for refuge
Tatiyampi Dhammam saranam gacchami – For the third time, I go to the Dhamma for refuge
Tatiyampi Sangham saranam gacchami – For the third time, I go to the Sangha for refuge

๑๐. เรื่องพระติสสเถระผู้เข้าถึงสกุลนายช่างแก้ว / ๙. ติสสสูตร / ๒. ติสสสูตร ว่าด้วยปัจจัยให้เกิดและไม่ให้เกิดโสกะ Updated: 10/05/2017 15:08:45., 23/10/2017 17:41:45., 21/06/2018 18:13:45.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

6 (1). พุทธานุสสติ - หันทะ มะยัง พุทธานุสสตินะยัง กะโรมะ เส ฯ เกสปุตตสูตร กาลมสูตร

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตันตัง เอวัง กัลละยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต - ก็กิตติศัพท์อันงามของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ได้ฟุ้งไปแล้วอย่างนี้ว่า;

อิติปิ โส ภะคะวา - เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น;

อะระหัง - เป็นผู้ไกลจากกิเลส;

สัมมาสัมพุทโธ - เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง;

วิชชาจะระณะสัมปันโน - เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ;

สุคะโต - เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี;

โลกะวิทู - เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง;

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ - เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า;

สัตถา เทวะมะนุสสานัง - เป็นครูผู้สอน ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ฯ;

พุทโธ - เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม;

ภะคะวาติ - เป็นผู้มีความจำเร็ญ จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ดังนี้ ฯ

6 (2). พุทธาภิคีติ - หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส ฯ

พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต - พระพุทธเจ้าประกอบด้วยคุณ มีความประเสริฐแห่งอรหันตคุณ เป็นต้น ฯ ;

พุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต - มีพระองค์อันประกอบด้วยพระญาณ และพระกกรุณาอันบริสุทธิ์;

โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร - พระองค์ใด ทรงกระทำชนที่ดีให้เบิกบาน ดุจอาทิตย์ทำบัวให้บาน;

วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง - ข้าพเจ้าไหว้พระชินสีห์ ผู้ไม่มีกิเลส พระองค์นั้น ฯ ด้วยเศียรเกล้า (กราบ หนึ่ง (๑) ครั้ง);

พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง - พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตว์ทั้งหลาย;

ปะฐะมานุสสติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง - ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก องค์ที่หนึ่งด้วยเศียรเกล้า (กราบ หนึ่ง (๑) ครั้ง);

พุทธัสสาหัสสะมิ ทาโส (ชาย - สวดท่องว่า "ทาโส") ทาสี (หญิง - สวดท่องว่า "ทาสี") วะพุทโธ เม สามิกิสสโร - ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระพุทธเจ้า ฯ พระพุทธเจ้า ฯ เป็นนายมีอิสระเหนือข้าพเจ้า;

พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม - พระพุทธเจ้าเป็นเครื่องกำจัดทุกข์ และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า;

พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง - ข้าพเจ้ามอบกายทวายชีวิตนี้ แด่พระพุทธเจ้า ฯ;

วันทัน โตหัง (ชาย - สวดท่องว่า "โตหัง") ตีหัง (หญิง - สวดท่องว่า "ตีหัง") จะริสสามิพุทธัสเสวะ สุโพธิตัง - ข้าพเจ้าไหว้อยู่จักประพฤติตาม ซึ่งความตรัสรู้ดีของพระพุทธเจ้า ฯ;

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง - สรณอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระพุทธเจ้าเป็นสรณะอันประเสริฐสูงสุดของข้าพเจ้า;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน - ด้วยการกล่าวคำสัจจ์นี้ ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา ฯ;

พุทธัง เม วันทะ มาเนนะ (ชาย - สวดท่องว่า "มาเนนะ") มานายะ (หญิง - "มานายะ") ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ - ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระพุทธเจ้า ฯ ได้ขวนขวายบุญใดในบัดนี้;

สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา - อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น ฯ;

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา - ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี;

พุทเธกุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง - กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้าได้กระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้า ฯ;

พุทโธ ปฏิคคัณณะหะตุ อัจจะยันตัง - ขอพระพุทธเจ้า ฯ จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น ฯ;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะพุทเธ - เพื่อการสำรวมระวัง ในพระพุทธเจ้า ฯ ในการต่อไป ฯ

6 (3). ธัมมานุสสติ - หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส ฯ

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม - พระธรรมเป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ดีแล้ว;

สัรทิฏฐิโก - เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง;

อะกาลิโก - เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ ไม่จำกัดกาล;

เอหิปัสสิโก - เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกับผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด;

โอปะนะยิโก - เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว;

ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ - เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ ฯ

6 (4). ธัมมาภิคีติ - หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส ฯ

สะวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะเสยโย - พระธรรม เป็นธรรมที่ประเสริฐ เพราะประกอบด้วยคุณ คือความที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ฯ ตรัสไว้ดีแล้วเป็นต้น ฯ;

โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท - เป็นธรรมอันจำแนกเป็น มรรค ผล ปริยัติ และพระนิพพาน;

ธัมโม กุโลลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี - เป็นธรรมทรงไว้ซึ่งผู้ทรงธรรม จากการตกไปสู่โลกที่ชั่ว;

วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง - ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมอันประเสริฐนั้น อันเป็นเครื่องขจัดเสียซึ่งความมืด (กราบ หนึ่ง (๑) ครั้ง);

ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง - พระธรรมใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตว์ทั้งหลาย ฯ;

ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง - ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ที่สอง ด้วยเศียรเกล้า (กราบ หนึ่ง (๑) ครั้ง);

ธัมมัสสาหัสสะมิ ทาโส (ชาย - สวดท่องว่า "ทาโส") ทาสี (หญิง - สวดท่องว่า "ทาสี") วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร - ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระธรรม พระธรรมเป็นนาย มีอิสระเหนือข้าพเจ้า;

ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ วิหิตัสสะ เม - พระธรรมเป็นเครื่องกำจัดทุกข์ และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า;

ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง - ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้ แด่พระธรรม;

วันทัน โตหัง (ชาย - สวดท่องว่า "โตหัง") ตีหัง (หญิง - สวดท่องว่า "ตีหัง") จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง - ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักปฤติตาม ซึ่งความเป็นธรรมดีของพระธรรม;

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง - สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระธรรมเป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน - ด้วยการกล่าวคำสัจจ์นี้ ข้าพเจ้าพึงเจริญ ในพระศาสนา ของพระศาสดา ฯ;

ธัมมัง เม วันทะ มาเนนะ (ชาย - สวดท่องว่า "มาเนนะ") มานายะ (หญิง - สวดท่องว่า "มานายะ") ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ - ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระธรรม ได้ขวนขวายบุญใดในบัดนี้;

สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา - อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น ฯ;

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา - ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี;

ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง - กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระธรรม;

ธัมโม ปะติคคัณณะหะตุ อัจจะยันตัง - ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น ฯ;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม - เพื่อการสำรวมระวัง ในพระธรรม ในกาลต่อไป ฯ

6 (5). สังฆานุสสะติ - หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส ฯ ๗. วัตถูปมสูตร - ว่าด้วยข้ออุปมาด้วยผ้า / ๙. มหาสาโรปมสูตร อุปมาพรหมจรรย์กับแก่นไม้๑๐. จูฬสาโรปมสูตร อุปมานักบวชกับผู้แสวงหาแก่นไม้

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ - สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ฯ หมู่ใด ปฏิบัติดีแล้ว;

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ - สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ฯ หมู่ใด ปฏิบัติจรงแล้ว;

ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ - สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ฯ หมู่ใด ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว;

สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ - สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ฯ หมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว;

ยะทิทัง - ได้แก่บุคคลเหล่านี้ คือ;

จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา - คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุรุษได้ ๘ บุรุษ;

เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ - นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ฯ;

อาหุเนยโย - เป็นสงฆ์สาวกที่เขาจัดไว้ต้อนรับ;

ปาหุเนยโย - เป็นสงฆ์ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา;

ทักขิเนยโย - เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน;

อัญชะลีกะระณีโย - เป็นที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี;

อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ - เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่าดังนี้ ฯ

6(6). สังฆาภิคีติ - หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส ฯ

สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต - พระสงฆ์ที่เกิดโดยพระสัทธรรม ประกอบด้วยคุณมีความปฏิบัติดี เป็นต้น ฯ;

โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ - เป็นหมู่แห่งพระอริยบุคคลอันประเสริฐ แปดจำพวก;

สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต - มีกายและจิต อันอาศัยธรรมมีศีลเป็นต้น ฯ;

วันทามะหัง ตะมาริยานะคะณัง สุสุทธัง - ข้าพเจ้าไหว้แห่งพระอริเจ้าเหล่านั้น ฯ ผู้บริสุทธิ์ด้วยดี (กราบ หนึ่ง (๑) ครั้ง);

สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง - พระสงฆ์ หมู่ใด เป็นสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตว์ทั้งหลาย ฯ;

ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันามิ ตัง สิเรนะหัง - ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้น ฯ อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ที่สาม ด้วยเศียรเกล้า (กราบ หนึ่ง (๑) ครั้ง);

สังฆัสสาหัสสะมิ ทาโส (ชาย - สวดท่องว่า "ทาโส") ทาสี (หญิง - สวดท่องว่า "ทาสี") วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร - ข้าพเจ้าเป็นทาสของสงฆ์ พระสงฆ์เป็นนาย มีอิสระเหนือข้าพเจ้า;

สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม - พระสงฆ์เป็นเครื่องกำจัดทุกข์ และทรงไว้ซึ่งประโยชน์แก่ข้าพเจ้า;

สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง - ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตนี้ แด่พระสงฆ์;

วันทัน โตหัง (ชาย - สวดท่องว่า "โตหัง") ตีหัง (หญิง - สวดท่องว่า "ตีหัง") จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง - ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม ซึ่งความปฏิบัติดีของพระสงฆ์;

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง - สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นสรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า;

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน - ด้วยการกล่าวคำสัจจ์นี้ ข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา ฯ;

สังฆัง เม วันทะ มาเนนะ (ชาย - สวดท่องว่า "มาเนนะ") มานายะ (หญิง - สวดท่องว่า "มานายะ") ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ - ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซึ่งพระสงฆ์ ได้ขวนขวายบุญใด ในบัดนี้;

สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา - อันตรายทั้งปวง อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งบุญนั้น ฯ;

กาเยนะ วาจายะ วะเจตะสา วา - ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี;

สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง - กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระสงฆ์;

สังโฆ ปะฏิคคัณณะหะตุ อัจจะยันตัง - ขอพระสงฆ์ จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น ฯ;

กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ - เพื่อการสำรวมระวัง ในพระสงฆ์ในการต่อไป ฯ

6(7). อภิณหปัจจเวกขณปาฐะ - หันทะ มะยัง อะภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ

ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต (ชาย - สวดท่องว่า "อะนะตีโต") ตีตา (หญิง - สวดท่องว่า "อะนะตีตา") - เรามีความแก่เป็นธรรมดา จะล่วงพ้นความแก่ไปไม่ได้;

พยาธิธัมโมมหิ พยาธิง อะนะตีโต (ชาย - สวดท่องว่า "อะนะตีโต") ตีตา (หญิง - สวดท่องว่า "อะนะตีตา") - เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา จะล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปไม่ได้;

มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโต (ชาย - สวดท่องว่า "อะนะตีโต") ตีตา (หญิง - สวดท่องว่า "อะนะตีตา") - - เรามีความตายเป็นธรรมดา จะล่วงพ้นความตายไปไม่ได้;

สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว - เราจะละเว้นเป็นต่างๆ คือว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรัก ของเจริญใจทั้งปวง ฯ;

กัมมัสสะโกมหิ กัมมะทายาโท กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระโณ - เรามีกรรมเป็นของๆ ตน มีกรมเป็นแดนเกิด มีกรรมเป็นผู้ติดตาม มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย;

ยัง กัมมัง กะริสสามิ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทาโยโท ภะวิสสามิ - เราทำกรรมอันใดไว้ เป็นบุญหรือเป็นบาป เราจะเป็นทายาท คือว่า เราจะต้องได้รับผลของกรรมนั้นๆ สืบไป ฯ;

เอวัง อัมเหหิ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง - เราทั้งหลาย ฯ ควรพิจารณาอย่างนี้ทุกวันๆ เถิด ฯ;

6(8). บทพิจารณาสังขาร ทุกเวลาทำวัดเช้าแและก่อนเข้านอน รวมทั้งอุบาสก-อุบาสิกา

โดยเฉพาะ อุบาสก-อุบาสิกา จงสวดสาธยายและปฏิบัติตามๆ แต่สติกำลังของแต่ละบุคคลนั้นๆ เทอญ ฯ

สัพเพ สังขารา อะนิจจา - สังขาร คือ ร่างกายจิตใจ และรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น ฯ มันไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วดับไป มีแล้วหายไป;

สัพเพ สังขารา ทุกขา - สังขาร คือ ร่างกายจิตใจ และรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น ฯ มันเป็นทุกข์ทนยาก เพราะเกิดขึ้นแล้วแก่เจ็บตายไป;

สัพเพ ธัมมา อะนัตตา - สิ่งทั้งหลายทั้งปวง ทั้งที่เป็นสังขารและไม่ใช่สังขารทั้งหมดทั้งสิ้น ฯ ไม่ใช่ตัว ไม่ใช่ตน ไม่ควรถือว่าเรา ว่าของเรา ว่าตัวว่าตนของเรา;

อะธุวัง ชีวิตัง - ชีวิตเป็นของไม่ยั่งยืน;

ทุวัง มะระนัง - ความตายเป็นของยั่งยืน;

อะวัสสัง มะยา มะริตัพพัง - อันเราจะพึงตายเป็นแท้;

มะระณะปะริโยสานัง เม ชีวิตัง - ชีวิตของเรามีความตายเป็นที่สุดรอบ;

ชีวิตัง เม อะนิยะตัง - ชีวิตของเราเป็นของไม่เที่ยง;

มะระณัง เม นิยะตัง - ความตายของเราเป็นของเที่ยง;

วะตะ - ควรที่สังเวช;

อะยัง กาโย - ร่างกายนี้;

อะจิรัง - มิได้ตั้้งอยู่นาน;

อะเปตะวิญญาโณ - ครั้นปราศจากวิญาณ;

ฉุฑโฑ - อันเขาทิ้งเสียแล้ว;

อะธิเสสสะติ - จักนอนทับ;

ปะฐะวิง - ซึ่งแผ่นดิน;

กะลิงคะรัง อิวะ - ประดุจดังว่ท่อนไม้และท่อนฟืน;

นิรัตถัง - หาประโยชน์มิได้;

อะนิจจา วะตะ สังขารา - สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ;

อุปปาทะวะยะธัมมิโน - มีความเกิดขึ้นแล้วมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา;

อุปปัชชิตวา นิรุชฌันติ - ครั้นเกิดแล้วย่อมดับไป;

เตสัง วูปะสะโม สุโข - ความเข้าไปสงบระงับสังขารทั้งหลาย ฯ เป็นสุขอย่างยิ่งดังนี้แล ฯ อัปปมาทสูตร / [๒๙๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คืออริยสัจ ๔ อยู่ / [๑๖๘๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสัจ ๔ เหล่านี้ / อุตติยสูตร / พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

6(9). ๑๐. เวขณสสูตร เรื่องเวขณสปริพาชก - บุรุษผู้รู้ความ ไม่เป็นคนโอ้อวด ไม่มีมายา เป็นคนซื่อตรง - "ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระองค์ประกาศธรรมโดยอเนกประยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปไปในที่มืด ด้วยตั้งใจว่า คนมีตาดีจักได้เห็นรูป ดังนี้… ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์เป็นสรณะ ขอพระองค์ทรงจำข้าพเจ้าว่า เป็นผู้ถึงสรณะ ตลอดชีวิตตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ฯ (นับตั้งแต่เบื้องต้น และนับตั้งบัดนี้เป็นต้นไป ฯ จนกว่าข้าพเจ้าจะบรรลุ เข้าถึง "พระนิพพาน" เทอญ ฯ (สำหรับท่านผู้สวดสาธยายเป็นประจำที่เป็น "พุทธบริษัท ๔ ฯ))

6(10). The Most Compassionate One, the Dhamma Teaching that You preach to me is very clear and vivid. It is a very blissful, harmonious, enthralling and clear analysis of the Dhamma Teaching, similar to when a person reveals something that has been covered. It is similar to a light shining through the darkness to guide a lost person and illuminating and inspiring for wise people to test for themselves. Please, The Compassionate One, show compassion to me. Please remember and accept me as from now on and forever I am inspired to seek the Threefold Refuge of the Triple Gem - The Buddha, the Dhamma and the Sangha.

Note: People who are already Buddhist should recite, 'I am inspired, since the start of of my spiritual journey and forever onwards to seek the Threefold Refuge of The Triple Gem - The Buddha, the Dhamma and the Sangha', until I'll have reached (to come to destination at the topmost place, especially after spending a long time or a lot of unstinting effort practising) my spiritual journey to the Nirvana/Nibbana. Updated: 25/10/2017 14:03:45.

กราบคุณพระพุทธ กราบคุณพระธรรม กราบคุณพระสงฆ์ ตลอดทั้งระลึกหรือท่องไว้อย่างนี้ว่า "อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัยอันเป็นองค์พระปฐมสูงสุดอันหาที่สุดอันหาประมาณมิได้ ฯ" ไปพร้อมๆ กับการกราบด้วยกันจนครบสามครั้ง และกราบเพิ่มอีกสามครั้ง ไปพร้อมๆ กับการท่องระลึกด้วยคำว่า "สาธุ สาธุ สาธุ ฯ" (รวมกราบทั้งหมดครบจำนวนกราบ ๙ พอดีแล ฯ) กรุณาแผ่เมตตาทุกครั้ง เมื่อหลังจบการสวดอาราธนาสาธยาย อันมี คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ และพระคาถาบทอื่นๆ เป็นต้นแลเทอญ ฯ/Bow to The Buddha, The Dhamma, and The Sangha which is based on The Triple Gem nine times and People should always pray for the loving-kindness to themselves and other all living beings in universe and the heavenly realms at the end of the Daily Practice pray in the act of the greatness one day at a time or more. Updated: 23/10/2017 21:51:45., 24/10/2017 16:30:45., 24/10/2017 16:46:45., 26/10/2017 04:24:45., 30/10/2017 00:48:45.

สำหรับภิกษุสามเณรสวด

จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง - เราทั้งหลาย อุทิเฉพาะพระผู้มีพระภาคเจ้า ฯ เป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง แม้ปรินิพพานนานแล้ว พระองค์นั้น ฯ;

สัทธา อะคารัสสะมา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา - เป็นผู้มีศรัทธา ออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว;

ตัสสะมิง ภะคะวะติ พรัหมะจะริยัง จะรามะ - ประพฤติอยู่ซึ่งพรหมจรรย์ ในพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ฯ;

ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะปะปันนา - ถึงพร้อมด้วยสิกขาและธรรมเป็นเครื่องเลี้ยงชีวิต ของภิกษุทั้งหลาย ฯ;

ตัง โน พรัหมะจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ - ขอให้พรหมจรรย์ของเราทั้งหลายนั้น ฯ เป็นไปเพื่อการทำที่สุุด แห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้เทอญ ฯ

Updated: 24/10/2017 15:17:45.

7.This is mentioned a brief section of The Buddha words from the Nirvana/Nibbana/Nippana Sutta/Sutra. The Buddha preached that anyone who is sincerely faithful to, reveres and respects The Buddha, the Dhamma and the Sangha through their heart and soul while visiting and praying at these Three places of pilgrimmage site which known as 'Lumpini/สถูปเจดีย์สถานที่ทรงพระประสูตร, Bodh Gaya/พุทธคะยา Uruvela/อุลุเวลาสถูปเจดีย์สถานที่ทรงตรัสรู้ และ Kusinara/กุสินารา/Parinirvana/Parinibbana/Parinippana สถูปเจดีย์สถานที่ทรงพระปรินิพพาน will surely be reborn in the Heavenly or Brahma Realms. ๓. มหาปรินิพพานสูตร (๑๖) Updated: 10/05/2017 13:45-51:45-51., 22/07/2024 21:22:45-51-54-55-56-57-58-59.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

8. ปัญจะสีละ - คำอาราธนาขอรับ ศีล ๕ ประการ

มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ - ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ หรือ ข้าแต่ คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัยเป็นองค์พระปฐมสูงสุด อันหาที่สุด อันหาประมาณมิได้ ฯ ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้า ฯ หรือ ข้าพเจ้าทั้งหลายเหล่านี้ ขอนอบน้อมจิต ขอรับศีลห้า(๕)ประการ พร้อมด้วย พระไตรสรณคมน์

ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ - แม้ครั้งที่สอง ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ หรือ ข้าแต่ คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัยเป็นองค์พระปฐมสูงสุด อันหาที่สุด อันหาประมาณมิได้ ฯ ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้า ฯ หรือ ข้าพเจ้าทั้งหลายเหล่านี้ ขอนอบน้อมจิต ขอรับศีลห้า(๕)ประการ พร้อมด้วยพระไตรสรณคมน์

ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ - แม้ครั้งที่สาม ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ หรือ ข้าแต่ คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัยเป็นองค์พระปฐมสูงสุด อันหาที่สุด อันหาประมาณมิได้ ฯ ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้า ฯ หรือ ข้าพเจ้าทั้งหลายเหล่านี้ ขอนอบน้อมจิต ขอรับศีลห้า(๕)ประการ พร้อมด้วย พระไตรสรณคมน์ Updated: 02/11/2018 15:19:45.

Note: ถ้าตั้งจิตขออาราธนาคนเดียวใช้ อะหัง แทน มะยัง และ ยาจามิ แทน ยาจามะ และควรตั้งจิตขออาราธนารับศีล ๕ ประการ อีก แม้ครั้งที่ ๒ แม้ครั้งที่ ๓ (รวมทั้งหมด ๓ รอบ) หลังจากที่ได้สวดท่องข้อศีลครบทั้ง ๕ ข้อหรือประการ จากหัวข้อ ที่ "8.2. ปัญจะสีละ – คำอาราธนาขอสมาทานสิกขาบทเพื่อถือปฏิบัติงดเว้น ศีล ๕ ประการ อีก แม้ครั้งที่ ๒ แม้ครั้งที่ ๓ (รวมทั้งหมด ๓ รอบ)" เมื่อขอรับศีล ๕ ข้อหรือประการแล้ว ต้องถือให้ครบตามกำหนดที่ได้ตั้งสัจจะอธิษฐานจิตไว้ เช่น ๑ อาทิตย์ ๒ อาทิตย์ ๓ อาทิตย์ หรือ ๑ เดือน ๒ เดือน หรือ ๓ เดือน ขึ้นไปเป็นต้น ฯ เพื่อเป็นการรักษาสัจจะ ฯ

8.1. Panca Sila – Request for the Five Precepts

Mayam bhante visum visum rakkhanatthaya tisaranena saha panca silani yacama
Please, Venerable One, we seek from you the Threefold Refuge, together with the Five Precepts of the Holy Teaching; kindly give us the Precepts.

Dutiyampi mayam bhante visum visum rakkhanatthaya tisaranena saha panca silani yacama
For the second time. Please, Venerable One, we seek from you the Threefold Refuge, together with the Five Precepts of the Holy Teaching; kindly give us the Precepts.

Tatiyampi mayam bhante visum visum rakkhanatthaya tisaranena saha panca silani yacama
For the third time. Please, Venerable One, we seek from you the Threefold Refuge, together with the Five Precepts of the Holy Teaching; kindly give us the Precepts. (Please recite this again repeatedly for three times)

Note: If saying on your own, replace 'mayam' with 'aham' and 'yacama' with 'yacami'. Please recite this again after reciting '8.3. Panca Sila – The Five Precepts' and recite this again repeatedly for three times to confirm that you sincerely and honestly request to hold the Five Precepts. Only recite this if you are going to hold the Five Precepts strictly, for example for between one week and one month or more. Updated: 10/05/2017 13:45:45.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

8.2. ปัญจะสีละ – คำอาราธนาขอสมาทานสิกขาบทเพื่อถือปฏิบัติงดเว้น ศีล ๕ ประการ

1. ปาณาติปาตา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการฆ่าสัตว์

2. อะทินนาทานา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ไห้

3. กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย

4. มุสาวาทา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการพูดเท็จ

5. สุราเมระยะมัชชะปะมาตัฏฐานา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท

Note: ถ้าตั้งจิตขออาราธนาคนเดียวใช้ อะหัง แทน มะยัง และ ยาจามิ แทน ยาจามะ และควรตั้งจิตขออาราธนารับศีล ๕ ประการ อีก แม้ครั้งที่ ๒ แม้ครั้งที่ ๓ (รวมทั้งหมด ๓ รอบ) หลังจากที่ได้ ท่องสวดศีลครบทั้ง ๕ ข้อหรือประการ จากหัวข้อ ที่ "8. ปัญจะสีละ – คำอาราธนาขอสมาทานสิกขาบทเพื่องดเว้น ศีล ๕ ประการ (แม้ครั้งที่ ๒ แม้ครั้งที่ ๓ (รวมทั้งหมด ๓ รอบ)) แล้วต้องถือให้ครบตามกำหนดที่ได้ตั้งสัจจะอธิษฐานจิตไว้ เช่น ๕ ถึง ๖ วัน ๑ อาทิตย์ ๒ อาทิตย์ ๓ อาทิตย์ หรือ ๑ เดือน ๒ เดือน หรือ ๓ เดือน ขึ้นไปเป็นต้น ฯ หรือควรกล่าวประโยคดังต่อไปนี่ดังนี้ว่า "นับตั้งแต่บัดนี้เป็นไป ข้าพเจ้าได้ตั้งจิตโดยมีเจตนาเพื่อปฏิบัติอยู่ในกรอบของศีล ๕ ประการ ต่อไปแก่ข้าพเจ้า ฯ หรือ ตามเจตนาแก่ข้าพเจ้าเพื่อถือปฏิบัติ ศีล ๕ ประการ ให้เคร่งครัดให้มากที่สุดเท่าที่ข้าพเจ้าจะปฏิบัติตามได้ตลอดทั้งชีวิตนี้แก่ข้าพเจ้า ฯ จนกว่าจะถึงเวลาอันเป็นศิริมงคลอันประเสริฐยิ่งๆ ขึ้นไป ฯ ด้วยการถือปฏิบัติศีลสิกขาบทขั้นสูงยิ่งๆ ขึ้นเพื่อความเป็นศิริมงคลอันประเสริฐแก่ข้าพเจ้ายิ่งๆ ขึ้นไป ฯ นับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปจนกว่าข้าพเจ้า ฯ จะบรรลุเข้าถึงซึ่งพระนิพพานเทอญ ฯ สาธุ สาธุ ศาธุ ฯ (ครบ ๓ รอบ/เที่ยว) แต่สำหรับท่านใดที่ปฏิบัติอยู่ในกรอบของ ศีล ๕ ประการ ด้วยการเคร่งครัดหรือไม่เคร่งครัดก็ดี จึงไม่มีความจำเป็นต้องกราบขออาราธนาลาศีลสิกขาบทดั่งเช่น ศีลสิกขาบท ๘ ประการ แล ฯ" เพื่อเป็นการรักษาสัจจะ ฯ Updated: 10/05/2017 23:41:45., 08/08/2018 17:13:41-45-46-51-55-56-59.

Note: Anyone who is seeking to leave the Eight Precepts after practising them for the amount of time they wish to do so, such as five to six days, a week, two weeks, a month, or more, should request as follows: Please, The Buddha, The Dhamma and The Sangha based on the Triple Gem, I/we seek the Threefold Refuge from you. Please show compassion towards me/us, support me/us and be a witness to my/our intention to leave the Eight Precepts and return to practice the Five Precepts as strictly as possible on my/our spiritual journey/s until the time is auspicious for me/us to start holding the Eight Precepts of the Holy Teaching and higher. Please show compassion in accepting my/our aspiration to leave the Eight Precepts immediately, here and now with the intention of returning to take the Threefold Refuge, together with the Five Precepts of the Holy Teaching. Please show compassion in accepting my/our aspiration to do this. (You should make this request three times).

Note: Importantly, the above information is suitable if it is inconvenient for you to practice at a temple. Anyone who has already sought the Threefold Refuge (The Buddha, The Dhamma and The Sangha based on the Triple Gem, also known as the Three Baskets), together with the Five Precepts of the Holy Teaching in the past does not need to request to leave the Five Precepts. The Five Precepts are the basis of the daily duty for all people to practice as much as they possibly can until it becomes a natural part of life. Updated: 12/05/2017 15:15:45., 15/05/2017 15:30:45.

8.3. Panca Sila – The Five Precepts

1. Panatipata veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from killing.

2. Adinnadana veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from stealing.

3. Kamesu micchacara veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from sexual misconduct.

4. Musavada veramani sikkhapadam samadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from false speech.

5. Suramerayamajjapamadatthana veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from alcohol or intoxicants which becloud the mind.

Note: Please recite this again repeatedly for three times to confirm that you sincerely and honestly request to hold the Five Precepts. Only recite this if you are going to hold the Five Precepts strictly, for example for between one week and one month or more. Updated: 10/05/2017 13:45:45.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

9. อัฏฐะสีละ - คำอาราธนาขอรับ ศีล ๘ ประการ

มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ
ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ หรือ ข้าแต่ คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัยเป็นองค์พระปฐมสูงสุด อันหาที่สุด อันหาประมาณมิได้ ฯ ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้า ฯ หรือ ข้าพเจ้าทั้งหลายเหล่านี้ ขอนอบน้อมจิต ขอรับศีลแปด(๘)ประการ พร้อมด้วย พระไตรสรณคมน์

ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ
แม้ครั้งที่สอง ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ หรือ ข้าแต่ คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัยเป็นองค์พระปฐมสูงสุด อันหาที่สุด อันหาประมาณมิได้ ฯ ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้า ฯ หรือ ข้าพเจ้าทั้งหลายเหล่านี้ ขอนอบน้อมจิต ขอรับศีลแปด(๘)ประการ พร้อมด้วย พระไตรสรณคมน์

ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ
แม้ครั้งที่สาม ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ หรือ ข้าแต่ คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัยเป็นองค์พระปฐมสูงสุด อันหาที่สุด อันหาประมาณมิได้ ฯ ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้า ฯ หรือ ข้าพเจ้าทั้งหลายเหล่านี้ ขอนอบน้อมจิต ขอรับศีลแปด(๘)ประการ พร้อมด้วย พระไตรสรณคมน์ Updated: 02/11/2018 15:19:45.

Note: ถ้าตั้งจิตขออาราธนาคนเดียวใช้ อะหัง แทน มะยัง และ ยาจามิ แทน ยาจามะ และควรตั้งจิตขออาราธนารับศีล ๘ ประการ อีก แม้ครั้งที่ ๒ แม้ครั้งที่ ๓ (รวมทั้งหมด ๓ รอบ) หลังจากที่ได้ ท่องสวดศีลครบทั้ง ๘ ข้อหรือประการ จากหัวข้อ ที่ "9. อัฏฐะสีละ - คำอาราธนาขอรับ ศีล ๘ ประการ อีก แม้ครั้งที่ ๒ แม้ครั้งที่ ๓ (รวมทั้งหมด ๓ รอบ)" เมื่อภายหลังจากขอรับศีล ๘ ข้อหรือประการแล้ว ต้องถือให้ครบตามกำหนดที่ได้ตั้งสัจจะอธิษฐานจิตไว้ เช่น ๑ อาทิตย์ ๒ อาทิตย์ ๓ อาทิตย์ หรือ ๑ เดือน ๒ เดือน หรือ ๓ เดือน ขึ้นไปเป็นต้น ฯ เพื่อเป็นการรักษาสัจจะ ฯ

9.1. Attha Sila – Request for the Eight Precepts

Mayam bhante tisaranena saha attha silani yacama
Please, Venerable One, we seek from you the Threefold Refuge, together with the Eight Precepts of the Holy Teaching; kindly give us the Precepts

Dutiyampi mayam bhante tisaranena saha attha silani yacama
For the second time. Please, Venerable One, we seek from you the Threefold Refuge, together with the Eight Precepts of the Holy Teaching; kindly give us the Precepts

Tatiyampi mayam bhante tisaranena saha attha silani yacama
For the third time. Please, Venerable One, we seek from you the Threefold Refuge, together with the Eight Precepts of the Holy Teaching; kindly give us the Precepts. (Please recite this again repeatedly for three times)

Note: If saying on your own, replace 'mayam' with 'aham' and 'yacama' with 'yacami'. Please recite this again after reciting '9.3. Attha Sila - The Eight Precepts' to confirm that you sincerely and honestly request to hold the Eight Precepts. Only recite this if you are going to hold the Eight Precepts strictly, for example for between one week and one month or more. Updated: 10/05/2017 13:45:45.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

9.2. อัฏฐะสีละ – คำอาราธนาขอสมาทานสิกขาบทเพื่อถือปฏิบัติงดเว้น ศีล ๘ ประการ

1. ปาณาติปาตา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการฆ่าสัตว์

2. อะทินนาทานา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ไห้

3. อะพรัหมะจะริยา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการกระทำอันมิใช่พรหมจรรย์

4. มุสาวาทา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการพูดเท็จ

5. สุราเมระยะมัชชะปะมาตัฏฐานา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท

6. วิกาละโภชนา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล (คือ ควรบริโภคอาหารเสร็จก่อนหนึ่งนาทีก่อนเที่ยง (หนึ่งนาทีก่อน ๑๒ นาฬิกา))

7. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนะ มาลาคันธะ วิเลปะนะธาระณะ มันฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการฟ้อนรำขับร้องประโคมดนตรี ดูการละเล่นอันเป็นข้าศึกต่อกุศล การทัดทรงสวมใส่เครื่องประดับตกแต่งกาย และด้วยดอกไม้ ของหอม เครื่องย้อม เครื่องทา

8. อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณีสิกขา ปะทังสะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบทคือเจตนางดเว้นจากการนั่งนอนเหนือที่นอนสูงและที่นอนใหญ่ ภายในมีนุ่นและสำลี

Note: ถ้าตั้งจิตขออาราธนาคนเดียวใช้ อะหัง แทน มะยัง และ ยาจามิ แทน ยาจามะ และควรตั้งจิตขออาราธนาศีล ๘ อีก แม้ครั้งที่ ๒ แม้ครั้งที่ ๓ (รวมทั้งหมด ๓ รอบ) หลังจากที่ได้ ท่องสวดศีลครบทั้ง ๘ ข้อหรือประการ จากหัวข้อ ที่ "9.2. อัฏฐะสีละ – คำอาราธนาขอสมาทานสิกขาบทเพื่องดเว้น ศีล ๘ ประการ (แม้ครั้งที่ ๒ แม้ครั้งที่ ๓ (รวมทั้งหมด ๓ รอบ))" แล้วต้องถือให้ครบตามกำหนดที่ได้ตั้งสัจจะอธิษฐานจิตไว้ เช่น ๕ ถึง ๖ วัน ๑ อาทิตย์ ๒ อาทิตย์ ๓ อาทิตย์ หรือ ๑ เดือน ๒ เดือน หรือ ๓ เดือน ขึ้นไปเป็นต้น ฯ เพื่อเป็นการรักษาสัจจะ ฯ เมื่อครบวาระกำหนดการถือศีล ๘ ข้อหรือประการ ตามเจตนาที่ได้ปฏิบัติครบตามกำหนดมาแล้วตามนั้นแล ฯ Updated: 08/08/2018 17:13:41-45-46-51-55-56-59., 05/09/2018 12:19:45.

ต่อแต่นี้ไป ให้ผู้ปฏิบัติรวบรวมสติสมาธิ เพื่อกราบนมัสการ ขอลาศีลสิกขาบทนั้น ฯ

ด้วยการกล่าวประโยคดังนี้ว่า "ข้าพเจ้าขอนอบน้อมจิตขออาราธนา แด่ คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัยเป็นองค์พระปฐมสูงสุด อันหาที่สุด อันหาประมาณมิได้ ฯ ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมจิตขอลาศีลสิกขาบท ๘ ประการ ขอจง คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัยเป็นองค์พระปฐมสูงสุด อันหาที่สุด อันหาประมาณมิได้ ฯ ได้โปรดเมตตา อนุเคราะห์ สงเคราะห์ ข้าพเจ้า ฯ ด้วยการจงทรงโปรดเป็นสักขีพยาน ในการขอลาศีลสิกขาบท ๘ ประการ แก่ข้าพเจ้า ฯ ในครั้งนี้ บัดนี้ ณ เวลานี้ เป็นต้นไปด้วยเทอญ ฯ แม้ครั้งที่ ๒ แม้ครั้งที่ ๓ (รวมทั้งหมด ๓ รอบ) และนับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ข้าพเจ้าได้มีเจตนาแน่วแน่ มั่นคง ด้วยการนอบน้อมอธิษฐานเพื่อกลับไปสู่การปฏิบัติอยู่ในกรอบของศีล ๕ ประการ เป็นต้นไป ให้เคร่งครัดให้มากที่สุดเท่าที่ข้าพเจ้าจะปฏิบัติตามได้ตามพละสติกำลังบารมีของข้าพเจ้าแลเทอญ ฯ ตลอดทั้งชีวิตนี้แก่ข้าพเจ้า ฯ จนกว่าจะถึงวันอันเป็นมหาศิริมงคลที่เวียนมาบรรจบครบรอบในวาระกาลอันควรอันประเสริฐยิ่งๆ ขึ้นไป แก่ข้าพเจ้าฯ ด้วยการตั้งจิตอย่างแน่วแน่มั่นคง เพื่อถือปฏิบัติศีลสิกขาบท ที่มี ศีล ๘ ข้อนั้น ฯ เป็นต้น ฯ เพื่อความเป็นศิริมงคลอันประเสริฐแก่ข้าพเจ้านับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ยิ่งๆ ขึ้นไป แก่ข้าพเจ้า ฯ จนกว่าข้าพเจ้าจะบรรลุเข้าซึ่งพระนิพพานเทอญ ฯ สาธุ สาธุ ศาธุ ฯ (ครบ ๓ รอบ/เที่ยว) แต่สำหรับท่านใดที่ปฏิบัติอยู่ในกรอบของ ศีล ๕ ประการ ด้วยการเคร่งครัดหรือไม่เคร่งครัดก็ดี จึงไม่มีความจำเป็นต้องกราบขออาราธนาลาศีลสิกขาบทดั่งเช่น ศีลสิกขาบท ๘ ประการ แล ฯ" Updated: 10/05/2017 23:41:45., 26/07/2018 13:51:45., 26/07/2018 13:55:59., 02/11/2018 15:51:45.

Note: Anyone who is seeking to leave the Eight Precepts after practising them for the amount of time they wish to do so, such as five to six days, a week, two weeks, a month, or more, should request as follows: Please, The Buddha, The Dhamma and The Sangha based on the Triple Gem, I/we seek the Threefold Refuge from you. Please show compassion towards me/us, support me/us and be a witness to my/our intention to leave the Eight Precepts and return to practice the Five Precepts as strictly as possible on my/our spiritual journey/s until the time is auspicious for me/us to start holding the Eight Precepts of the Holy Teaching and higher. Please show compassion in accepting my/our aspiration to leave the Eight Precepts immediately, here and now with the intention of returning to take the Threefold Refuge, together with the Five Precepts of the Holy Teaching. Please show compassion in accepting my/our aspiration to do this. (You should make this request three times).

Note: Importantly, the above information is suitable if it is inconvenient for you to practice at a temple. Anyone who has already sought the Threefold Refuge (The Buddha, The Dhamma and The Sangha based on the Triple Gem, also known as the Three Baskets), together with the Five Precepts of the Holy Teaching in the past does not need to request to leave the Five Precepts. The Five Precepts are the basis of the daily duty for all people to practice as much as they possibly can until it becomes a natural part of life. Updated: 12/05/2017 15:15:45., 15/05/2017 15:30:45.

9.3. Attha Sila – The Eight Precepts

1. Panatipata veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from killing.

2. Adinnadana veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from stealing.

3. Abrahmacariya veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from incelibacy.

4. Musavada veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from false speech.

5. Suramerayamajjapamadatthana veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from alcohol or intoxicants which becloud the mind.

6. Vikalabhojana veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from taking solid food after midday (ideally one minute before 12 o'clock).

7. Naccagitavaitavisukadassanamalagandhavilepanadharanamandanavibusanatthana veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from participating in, or witnessing, dancing, singing, instrumental music performances and unseemly shows or sights; also from wearing garlands or using perfumes, adornments or beautifying accessories.

8. Uccasayanamahasayana veramanisikkha padamsamadiyami
I undertake to observe the precept of abstaining from using high and luxurious furniture.

Note: Please recite this again repeatedly for three times to confirm that you sincerely and honestly request to hold the Eight Precepts. Only recite this if you are going to hold the Eight Precepts strictly, for example for between one week and one month or more. Updated: 10/05/2017 13:45:45., 08/08/2018 17:39-41:45-51-59:., 05/09/2018 12:19:45.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

กราบนมัสการพระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์

ข้าพเจ้า ฯ ขอนอบน้อมจิต กราบนมัสการพระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์นั้น ฯ และ อันไม่มีประมาณ ฯ แด่องค์สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์นั้น ฯ อันเป็นพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ อันเป็นคุณพระศรีรัตนตรัย เป็นองค์พระปฐมสูงสุด อันหาที่สุด อันหาประมาณมิได้ ฯ สาธุ สาธุ สาธุ ฯ (รวมกราบทั้งหมด ๙/9 ครั้ง) ขอจงพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์นั้น ฯ จงทรงโปรดบันดาลให้ชาวพุทธทั้งหลาย ฯ ผู้ปฏิบัติธรรม ฯ ที่มีข้าพเจ้าเป็นต้น ฯ จงเกิความสุข ความเจริญ ทั้งทางกาย วาจา ใจ เพื่อเกิดความสุข ความเจริญรุ่งเรือง โชติช่วง สว่างไสว ในมรรคผล ในธรรม ยิ่งๆ ขึ้นไป ทะลุทะลวงถึงขั้นสูงสุด อันมีแดนเกิด คือ "พระนิพพาน" เทอญ ฯ สาธุ ฯ พุทธปกิรณกกัณฑ์ - ว่าด้วยเรื่องเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า

พระตัณหังกรพุทธเจ้า พระผู้ทรงกล้าหาญ ฯ

พระเมธังกรพุทธเจ้า พระผู้ทรงยสใหญ่ ฯ

พระสรณังกรพุทธเจ้า พระผู้ทรงเกื้อกูลแก่โลก ฯ

พระทีปังกรพุทธเจ้า พระผู้ทรงไว้ซึ่งปัญญาอันรุ่งเรือง ฯ

พระโกญฑัญญะพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นประมุขแห่งหมู่ชน ฯ

พระมังคละพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นบุรุษประเสริฐ ฯ

พระสุมนะพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นธีรบุรุษมีพระหทัยงาม ฯ

พระเรวตะพุทธเจ้า พระผู้ทรงเพิ่มพูนความยินดี ฯ

พระโสภิตะพุทธเจ้า พระผู้ทรงสมบูรณ์ด้วยพระคุณ ฯ

พระอโนมทัสสีพุทธเจ้า พระผู้ทรงอุดมอยู่ในหมู่ชน ฯ

พระปทุมะพุทธเจ้า พระผู้ทรงทำโลกให้สว่าง ฯ

พระนาระทะพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นสารถีประเสริฐ ฯ

พระปทุมุตตระพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นที่พึ่งของหมู่สัตว์ ฯ

พระสุเมธะพุทธเจ้า พระผู้ทรงหาบุคคลเปรียบมิได้ ฯ

พระสุชาตะพุทธเจ้า พระผู้ทรงเลิศกว่าสัตว์โลกทั้งปวง ฯ

พระปิยะทัสสีพุทธเจ้า พระผู้ทรงประเสริฐกว่าหมู่นรชน ฯ

พระอัตถทัสสีพุทธเจ้า พระผู้ทรงมีพระกรุณา พระผู้ทรงบรรเทามืด ฯ

พระธรรมทัสสีพุทธเจ้า พระผู้ทรงพระกรุณา พระผู้ทรงบรรเทามืด ฯ

พระสิทธัตตะพุทธเจ้า พระผู้ทรงหาบุคคลเสมอมิได้ในโลก ฯ

พระติสสะพุทธเจ้า พระผู้ทรงประเสริฐกว่านักปราชญ์ทั้งหลาย ฯ

พระปุสสะพุทธเจ้า พระผู้ทรงประทานธรรมอันประเสริฐ ฯ

พระวิปัสสีพุทธเจ้า พระผู้ทรงพระจักษุ พระทรงสิริ/ศิริ พระผู้ทรงหาที่เปรียบมิได้ ฯ

พระสิขีพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นพระศาสดา พระผู้ทรงอนุเคราะห์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ทั่วหน้า ฯ

พระเวสสภูพุทธเจ้า พระผู้ทรงชำระกิเลส พระผู้ทรงความเพียร พระผู้ทรงประทานความสุข ฯ

พระกกุสันธะพุทธเจ้า พระผู้ทรงย่ำยีมารและเสนามาร พระผู้ทรงนำสัตว์ออกจากกันดารตัวกิเลส ฯ

พระโกนาคมนะพุทธเจ้า พระผู้ทรงหักเสียซึ่งข้าศึกคือกิเลส คือ พระผู้ทรงมีบาปอันลอยแล้ว พระผู้ทรงอยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ฯ

พระกัสสปะพุทธเจ้า พระผู้สมบูรณ์ด้วยสิริ/ศิริ พระผู้ทรงพ้นพิเศษแล้วในธรรมทั้งปวง ฯ

พระโคตมะพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ/หรือ พระโคตมะโคดมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ/หรือ พระโคดมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ หรือ พระอังคีรสพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ คือ พระผู้ทรงมีพระรัศมีซ่านออกจากพระสรีระพระวรกาย พระผู้ทรงพระศากยบุตร พระผู้ทรงสิริ/ศิริ พระผู้ทรงประทานความสุข พระผู้ทรงพระกรุณา พระผู้ทรงบรรเทามืดทั้งปวง ฯ พระผู้ทรงประเสริฐแห่งหมู่ศากยราช เป็นต้น ฯ อันไม่มีประมาณ อันหาที่สุด อันหาประมาณมิได้ ฯ แด่องค์สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์นั้นเทอญ ฯ (กราบ ๙/9 ครั้ง หมายเหตุ: ถ้าหากบุคคลนั้นๆ เกิดความรู้สึกพึงพอใจต้องการกราบเพิ่มอีก ๙ ครั้ง เพื่อเพิ่มพูนความสุขทางจิตใจให้ยิ่งๆ ขึ้นไปของแต่ละบุคคลนั้น ฯ ก็สุดแท้แต่ละบุคคลนั้นๆ ฯ) สาธุ สาธุ สาธุ ฯ

Updated: 23/07/2018 12:22:51., 23/07/2018 12:51:45., 23/07/2018 13:51:55., 23/07/2018 13:51:59., 23/07/2018 14:41:59., 23/07/2018 14:51:59., 23/07/2018 15:05:54-55., 23/07/2018 15:06:59., 24/07/2018 11:13:59., 04/08/2018 10:32:45., 26/12/2018 19:26:45-51-55-59., 27/12/2018 18:36-51:45-51-55-59.

10. ภัทรกัปป์คาถา พระนามพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์นั้น ฯ

พุทธปกิรณกกัณฑ์ - ว่าด้วยเรื่องเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า Note: ตามความเห็นของข้าพเจ้าต่อพระสูตรนี้ คือ "ภัทรกัปป์ พระนามแด่องค์สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๕ พระองค์นั้น ฯ ทรงเสด็จอุบัติขึ้นภายในกัปป์เดียวกัน หรือ "ภัทรกัปป์นี้" ดั่งที่ พระพุทธองค์ ฯ ทรงตรัสไว้ในพระสูตรแล ฯ ซึ่งทรงมีพระนาม ฯ ดั่งในพระคาถาดังต่อไปนี้

นะ ทรงฟ้า โม ทรงดิน พุทธ ทรงสินธุ์ ธา ทรงสมุทร ยะ ทรงอากาศ ฯ

พุทธังแคล้วคลาด ธัมมังแคล้วคลาด สังฆังแคล้วคลาด ฯ

นะกาโร กุกกุสันโธ สิโรมัชเฌ โมกาโร โกนาคะมะโน ฯ

นานาจิตเต พุทธะกาโร กัสสะโป พุทโธ จะ ทะเวเนเต ฯ

ธากาโร ศรีศากกะยะมุณี โคตะโม ยะกันเน ยะกาโร ฯ

อะริยะ เมตตรัย โย ชิวหาทีเต ปัญจะพุทธา นะมามิหัง ฯ

พุทธะบูชา มะหาเตชะวันโต ธัมมะบูชา มะหาปัญโญ สังฆะบูชา มะหาโภคะวะโห ฯ

อะระหังพุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง พุทธะ มะอะอุ นะโม พุทธายะ ฯ

Note: พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ ทรงพระอนุเคราะห์ว่าดังนี้ว่า! คำว่า "มิเตพาหุหะติ" ไม่ได้เป็นประโยชน์ในทรัพย์สมบัติใดๆ ทั้งสิ้นแล! แต่กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ผู้สวดสาธยายพระคาถาต่างๆ นั้น ฯ ขาดสมาธิดังนี้แล! ฯ Updated: 19/12/2022 19:30:41-45-51-54-55-56-57-58-59.

พุทธปกิรณกกัณฑ์ - ว่าด้วยเรื่องเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า People who practice opposite to the Dhamma Teaching of the Gautama Buddha, based on The Triple Gem, and significantly those who continually take knowledge from the buddhamap.org and say that it is their own work by their own effort will consequently cause trouble for Buddhism around the world and for the Buddhists who follow fake masters. The followers face a serious risk of being controlled by the fake masters and this situation will completely hinder their practice to attain the first step of seeking refuge in The Triple Gem, which is based on strictly practising the The Five Precepts as much as they can.

However, it is possible and very likely that the fake masters (Phanbandhits/Bhanpandhits) will be named in the Suttas/Sutras in the time of the future Buddha. All followers should beware of fake masters and should not support them if they are aware of the situation. If they are aware of fake masters and still support them they might end up being named in the same Sutras/Suttas as the fake masters because their behaviour will cause negative effects to the whole system of the world (the Dhamma Teaching of the Gautama Buddha, based on the Triple Gem, exists to be the main protector of the world). ช่วงการอธิบายต่อเนื่องเพิ่มเติมจากข้อความประโยคเบื้องบนดังต่อไปนี้ คือส่วนช่วงเวลาของ "อันตรกัป หรือ อันตรกัปป์" คือ โลกมนุษย์ใบนี้ถูกทำลายจากความร้อนที่เกิดจากการที่ "พระอาทิตย์ ดวงที่ ๒ ถึง ดวงที่ ๗ ดวงเกิดขึ้น" จนกระทั่งแตกสลายดับไป หลังจากจึงถูกแรงเวี่ยงดึงดูดจาก "ปรากฏการ ซุปเปอร์หลุมดำ หรือ Greatest Black Hole [๒๗] ...เป็นอันตรกัป โดยจะคำนวณนับมิได้..." และ อันตรกัปหรืออันตรกัปป์ คือ อันโลกมนุษย์เกิดดับๆๆๆ อยู่เช่นนี้ โดยปราศจากการเสด็จอุบัติขึ้นแด่ "องค์สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ" อันคำณวนนับกัปป์มิได้ ฯ Updated: 04/05/2017 16:12:45-51-54-55-56-57-58-59.

ส่วนมนุษย์ทั้งหลายที่ไม่มีคุณต่อโลกใบนี้ ตลอดทั้งไม่มีคุณต่อ "พระพุทธศาสนาและผู้ปกป้องพระพุทธศาสนา หรือ ศากยบุตรและพระศากยบุตรทั้งหลายที่บรรลุจากการปฏิบัติจริง ฯ" มีความเป็นไปได้สูงที่ได้ไปเกิดเป็นพวกเชื้อ แบคทีเรีย (Bacteria) ชนิดต่างๆ บนดาวเคราะห์ต่างๆ ที่กระจัดกระจายทั่วไปในจักรวาล ฯ และถ้าหากได้เกิดบนโลกใบนี้ ก็ล้วนแต่เกิดเป็นสัตว์เดรฉานไปอย่างยาวนานแสนนานอันประมาณช่วงของนั้นแสนยากยิ่ง! ฯ สุริยสูตร Updated: 29/07/2016 00:45:54.

...[๕๘๑] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้ ฯ ๕. จูฬกัมมวิภังคสูตร (๑๓๕) หมายเหตุ: ข้อความในวรรคที่ "[๕๙๐]" นี้ เป็นต้น พุทธบริษัท ๔ ทั้งหลาย ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ให้เฉพาะแก่ "สมณะหรือพราหมณ์" เท่านั้น ดั่งเช่นพระสูตรนี้เป็นต้น จันทกุมารจริยาที่ ๗ ...[๒๗๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมบัญญัติบุคคลผู้ได้วิชชา ๓ ว่าเป็นพราหมณ์โดยธรรม ๑๐. ธรรมสูตร / สีวลีเถราปทานที่ ๓ ว่าด้วยบุพจริยาของพระสีวลีเถระ

ตติยวรรคที่ ๓ ปุคคลสูตรที่ ๑ "[๓๙๔] ดูกรมหาบพิตร ก็อย่างไรบุคคลชื่อว่ามืดแล้วคงมืดต่อไป... คนพาลจะมีความรู้สึกอย่างนี้ว่า เพราะเหตุแห่งกรรมชั่วปานใดแล ราชาทั้งหลายจึงจับโจรผู้ประพฤติผิดมาแล้ว สั่งลงกรรมกรณ์ต่างชนิด คือโบยด้วยแส้บ้าง ฯลฯ ตัดศีรษะด้วยดาบบ้าง ก็ปรกติเหล่านั้นมีอยู่ในเรา และเราก็ปรากฏในปรกติเหล่านั้นด้วย ถ้าแม้ราชาทั้งหลายรู้จักเรา ก็จะจับเราแล้วสั่งลงกรรมกรณ์ต่างชนิด คือ โบยด้วยแส้บ้าง ฯลฯ ให้นอนหงายบนหลาวทั้งเป็นๆ บ้าง ตัดศีรษะด้วยดาบบ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนพาลย่อมเสวยทุกข์โทมนัสข้อที่สองแม้ดังนี้ในปัจจุบัน ฯ

[๔๗๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย มีเหล่าสัตว์เดียรัจฉานจำพวกมีหญ้าเป็นภักษา สัตว์เดียรัจฉานเหล่านั้นย่อมใช้ฟันและเล็มกินหญ้าสด ก็เหล่าสัตว์ เดียรัจฉานจำพวกมีหญ้าเป็นภักษา คืออะไร คือ ม้า โค ลา แพะ เนื้อ หรือแม้จำพวกอื่นๆ ไม่ว่าชนิดไรๆ ที่มีหญ้าเป็นภักษา ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนพาลนั้นนั่นแลผู้กินอาหารด้วยความติดใจรสเบื้องต้นในโลกนี้ ทำกรรมลามกไว้ในโลก นี้ เมื่อตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของสัตว์จำพวกที่มีหญ้าเป็นภักษาเหล่านั้น ฯ

[๔๗๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย มีเหล่าสัตว์เดียรัจฉานจำพวกมีคูถเป็นภักษา สัตว์เดียรัจฉานเหล่านั้นได้กลิ่นคูถแต่ไกลๆ แล้วย่อมวิ่งไปด้วยหวังว่า จักกินตรงนี้ เปรียบเหมือนพวกพราหมณ์เดินไปตามกลิ่นเครื่องบูชาด้วยตั้งใจว่า จักกินตรงนี้ จักกินตรงนี้ ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล มีเหล่าสัตว์เดียรัจฉานจำพวกมีคูถเป็นภักษา สัตว์เดียรัจฉานเหล่านั้นได้กลิ่นคูถแต่ไกลๆ แล้ว ย่อมวิ่งไปด้วยหวังว่า จักกินตรงนี้ จักกินตรงนี้ ก็เหล่าสัตว์เดียรัจฉานจำพวกมีคูถเป็นภักษา คืออะไร คือ ไก่ สุกร สุนัขบ้าน สุนัขป่า หรือแม้จำพวกอื่นๆ ไม่ว่าชนิดไรๆ ที่มีคูถเป็นภักษา ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนพาลนั้นนั่นแล ผู้กินอาหารด้วยความติดใจรสเบื้องต้นในโลกนี้ ทำกรรมลามกไว้ในโลกนี้ เมื่อตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของสัตว์จำพวกมีคูถเป็นภักษาเหล่านั้น ฯ

[๔๗๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย มีเหล่าสัตว์เดียรัจฉานจำพวกเกิดแก่ตายในที่มืด ก็เหล่าสัตว์เดียรัจฉานจำพวกเกิดแก่ตายในที่มืด คืออะไร คือ ตั๊กแตนมอด ไส้เดือน หรือแม้จำพวกอื่นๆ ไม่ว่าชนิดไรๆ ที่เกิดแก่ตายในที่มืด ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนพาลนั้นนั่นแลผู้กินอาหารด้วยความติดใจรสเบื้องต้นในโลกนี้ ทำกรรมลามกไว้ในโลกนี้ เมื่อตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของสัตว์ จำพวกเกิดแก่ตายในที่มืด ฯ

[๔๗๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย มีเหล่าสัตว์เดียรัจฉาน จำพวกเกิดแก่ตายในน้ำ ก็เหล่าสัตว์เดียรัจฉานจำพวกเกิดแก่ตายในน้ำ คืออะไร คือ ปลา เต่า จระเข้ หรือแม้จำพวกอื่นๆ ไม่ว่าชนิดไรๆ ที่เกิดแก่ตายในน้ำ ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนพาลนั้นนั่นแลผู้กินอาหารด้วยความติดใจรสเบื้องต้นในโลกนี้ ทำกรรมลามกไว้ในโลกนี้ เมื่อตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของสัตว์จำพวกเกิดแก่ตายในน้ำ ฯ

[๔๘๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย มีเหล่าสัตว์เดียรัจฉานจำพวกเกิดแก่ตายในของโสโครก ก็เหล่าสัตว์เดียรัจฉานจำพวกเกิดแก่ตายในของโสโครกคืออะไร คือเหล่าสัตว์จำพวกที่เกิดแก่ตายในปลาเน่าก็มี ในศพเน่าก็มี ในขนมกุมมาสเก่าก็มีในน้ำครำก็มี ในหลุมโสโครกก็มี หรือแม้จำพวกอื่นๆ ไม่ว่าชนิดไรๆ ที่เกิดแก่ตายในของโสโครก ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนพาลนั้นนั่นแลผู้กินอาหารด้วยความติดใจรสเบื้องต้นในโลกนี้ ทำกรรมลามกไว้ในโลกนี้ เมื่อตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของสัตว์จำพวกเกิดแก่ตายในของโสโครก ฯ ๙. พาลบัณฑิตสูตร (๑๒๙)/Phanbandhit/Bhanpandhit Sutta: People who skilfully practise but are fake and fool themselves and others ธรรมะในพระสูตรนี้เหมารวมคนพาลทั้งผู้สนับสนุนสั่งการทุกประเภททุกชนิดเป็นต้น ฯลฯ

อนึ่ง! คนหรือบุคคลที่เขียนแปลผลงานธรรมะในขั้นนี้ได้จะต้องมี กระจิตกระใจ แรงดลใจ แรงบันดาลใจ และแรงศรัทธา ดำรงยึดมั่นในพระธรรมคำสั่งสอนแด่พระพุทธองค์ ฯ มาชั่วหลายอสงไขกัปป์จนกระทั่งก่อเกิดเป็น "ฌาน สำหรับบุคคลที่ปฏิบัติบรรลุเข้าถึง พระไตรสรณคมน์ และ อริยะฌาน หรือ การบุคคลเหล่านั้น ฯ ได้บรรลุอริยบุคคลตั้งแต่ขั้น พระโสดาบัน ขึ้นไป ฯ" ขึ้น ซึ่งถือเป็นคุณสมบัติเฉพาะกุศลธรรมที่เกิดจากใจรัก เคารพ ศรัทธา โดยเฉพาะมีการปฏิบัติ ศีล ๕ ประการ อย่างเคร่งครัด เป็นพื้นฐานในการปฏิบัติเป็นต้น ฯ อย่างแน่วแน่มั่นคงมาเป็นระยะเวลาเนิ่นนาน ซึ่งเป็นหนึ่งในเหตุผลหลักและเป็นปัจจัยหลักของการมีคุณสมบัติทางด้านการนำเสนอเผยแพร่ พระพุทธศาสนา ด้วยการ อธิบาย ตีความ วิเคราะห์ สังเคราะห์ แจกแจง พระธรรมคำสั่งสอนที่ลึกซึ้ง ให้เข้าใจง่ายต่อชนทั้งหลายทั่วไป ฯ และต่อทั้ง พุทธบริษัท ๔ ทั้งหลายเหล่านั้น ฯ อนึ่ง "อริยะฌาน" ไม่ได้วัดกันเฉพาะเวลานั่งปฏิบัติสมาธิ โดยเฉพาะในบุคคลโดยทั่วๆ ไป ฯ ถ้าออกจากสมาธิแล้วก็ไม่มีฌาน!

จึงอยากจะอธิบายจิตที่เกิดเป็นอริยะฌานไว้พอสังเขป คือ อริยะฌานในที่นี้หมายถึง การมีสติสัมประชัญญะคอยตามระลึกรู้ ทุกอิริยาบทครอบคลุมทั้ง กาย วาจา ใจ และอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ โดยอัตโนมัติ เช่น รักโลภโกรธหลง โกรธเกลียดแค้นเคืองก็มีสติคอยตามระลึกรู้ คอยกำกับระงับอารมณ์อกุศลจิตนั้นให้สงบลงอยู่เนืองๆ เมื่อคิดเบียดเบียนก็รู้ได้ด้วยจิตอริยะฌานตัวนี้ และจิตจะรู้สึกสะดุ้งกลัวต่อบาปโดยฉับพลัน! เช่น จิตเกิดอยากเบียดเบียนผลงานบุคคลอื่นไปครอบครอง แล้วกล่าวตู่เจ้าเอาผลงาน หรือสิ่งของๆ บุคคลอื่นนี้นั้น ฯ อย่างไม่เป็นธรรมเป็นต้น! ถ้าในบุคคลที่ปฏิบัติจนก่อเกิด "ฌาน และ อริยะฌาน" บุคคลเหล่านั้น ฯ จะไม่ทำการล่วงระเมิด เบียดเบียน ร่างกาย และผลงานของบุคคลอื่น ด้วยเจตนาอันไม่บริสุทธิ์ ทั้งทางกาย และ วาจา ใจ แล ฯ ภูมกสูตร - "พ. ดูกรนายคามณี ฉันนั้นเหมือนกัน บุรุษคนใดฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด...

แต่ถ้าจิตที่ก่อเกิดเป็น "ฌาน และ อริยะฌาน" แล้ว แม้แค่เพียงมีความคิดเบียดเบียนบุคคลอื่น เพียงน้อยนิดผุดขึ้นในหัวสมอง ในใจ ก็จะรู้สึกตัวทันทีว่า "โอ้หนอเรานี่มันเลว! เรานี่มันชั่วแล้วหนอ! ที่คิดที่จะเบียดเบียนบุคคลหรือสัตว์อื่นให้ได้รับความลำบากทุกข์กายใจได้ถึงเพียงนี้หนอเรา!" ซึ่งมันเป็นอาการของจิตของบุคคลที่ได้บรรลุ "ฌาน และ อริยะฌาน" ซึ่งเป็นครูคอยเตือนสติควบคุมบอกกล่าวพร่ำสอนตักเตือนตัวเองไปในตัวเสร็จสรรพอย่างเป็นธรรมชาติ ฯ และเป็นจิตที่อยากจะให้อยากจะเผื่อแผ่โดยเมตตาธรรมอยู่ตลอดเวลาโดยไม่มีประมาณ ฯ ซึ่งเป็นจิตที่ไม่คิดเบียดเบียนใครอื่นให้เขาต้องได้รับความลำบากทุกข์กายใจใดๆ เลยแล แม้แต่เพียงเล็กน้อย! และนี่คือ "ฌาน ของบุคคลที่บรรลุเข้าถึงพระไตรสนณคมน์ และ อริยะฌาน" ในเบื้องต้น ในแบบฉะบับของ "พระโพธิสัตว์ และ พระอริยะบุคคล หรือ พระอริยะสงฆ์เจ้าทั้งหลายเหล่านั้น ฯ ตั้งแต่ขั้นต้นและขั้นสูงยิ่งๆ ขึ้นไป ฯ เป็นต้น ฯ"

งานนี้หินสุดๆ คือ ยากอันประมาณมิได้ ฯ (ยกเว้นไว้เฉพาะพระพรหมขั้นพระอรหันตเจ้าพระองค์นั้น ฯ ที่ทรงหยั่งรู้เห็นตามความเป็นจริง ฯ) เป็นการปฏิบัติหน้าที่ๆ อยู่ในความรับผิดชอบของความบรรลุ "ศากบุตร ขั้นพระโพธิสัตว์ ขั้นการบรรลุเข้าถึงพระไตรสรคมน์ ที่จำเป็นต้องถือปฏิบัติ ศีล ๕ ประการ" อย่างเคร่งครัดไว้ดีแล้วในกาลการก่อนหน้าและตลอดทั้งชวิตอย่างไม่มีข้อแม้ อย่างไม่มีขอสงสัยใดๆ ทั้งสิ้น ฯ และจำเป็นอย่างยิ่งที่ข้าพเจ้า ฯ จำต้องปฏิบัติ "ศีล ๘ ประการ" ให้สม่ำเสมอเพื่อให้เหมาะสมกับหน้าที่ๆ ได้รับผิดชอบที่ได้รับหมอบหมายผ่านทาง www.buddhamap.org แห่งนี้ จึงถือว่าเป็นการปฏิบัติงานในหน้าที่ๆ ที่ความบรรลุเป็น "ศากบุตร" เช่นข้าพเจ้า ฯ รับผิดชอบ จึงยากเกินกว่าจะสรรหาถ้อยคำใดๆ มาพูด มาอธิบาย สาธยาย มาจัดสรรเรียบเรียงให้เป็นประโยค และถ้อยคำนั้นๆ ให้ได้โดยง่ายนั้นจึงถือว่ามันเป็นเรื่องแสนยากยิ่งๆ นักแล ฯ แต่ทุกถ้อยคำ ทุกประโยค และทุกตัวอักษร ใน www.buddhamap.org แห่งนี้ คงเพียงพอต่อการทำความเข้าใจของชาวโลกทั้งหลายเหล่านี้นั้น ฯ ได้เป็นอย่างดีเยี่ยมโดยแน่แท้แลเที่ยว! โดยเพราะผู้ปฏิบัติหน้าที่อันสำคัญอันหาค่าประมาณมิได้นี้ ฯ พร้อมทั้งบิดา-มารดาและครอบครัวและบรรพบุรุษผู้ทรงคุณศากบุตรและพระศากบุตรทั้งหลายเหล่านี้นั้น ฯ เป็นต้น ฯ จำต้องต่างเผชิญกับทุกโลกธาตุอย่างชนิดที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ อย่างชนิดที่ไม่วัน-คืนใด ที่ว่างพ้นจากการถูกพวกมันทำการทำร้ายคุกคาม เบียดเบียน ทำร้ายอย่างโหดเหี้ยมอำมหิต! ทั้งทางตรงและทางอ้อม ฯ ที่จากจาก พวกพญาพรหมมารร้าย พวกอาสูรร้าย พวกพ่อมด-แม่มดร้าย ปีศาจร้าย และพวกพาลบัณฑิตน้อย-ใหญ่ ทั้งหลายเหล่านี้นั้น ฯ มาโดยตลอดเนืองๆ และข้าพเจ้า ฯ จำต้องเผชิญกับ พวกยักษ์ชั้นสูง ชั้นกลาง และชั้นต่ำบางพวก ซึ่งส่วนใหญ่ที่มิได้พากันเลื่อมใสใน "พระธรรมคำสั่งสอนแด่พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ" Updated: 28/07/2018 20:05:45., 30/07/2018 20:01:45., 30/07/2018 20:19:51-59.

โดยเฉพาะพวกดังกล่าวมานี้กลับมีกามรมณ์ ตันหา ราคะ เป็นเครื่องดำเนิน นำพาชีวิตจิตใจ ๙. อาฏานาฏิยสูตร (๓๒)หลังจากนั้นก็ต่างตกไปเป็นทาสรับใช้พวกพญามาร อาสูร พ่อมด-แม่มด ผูตผีปีศาจร้าย พาลบัณฑิตน้อย-ใหญ่ทั้งหลายเหล่านี้นั้น ฯ เป็นต้น ฯ ที่มีทั้งรู้ตัวและไม่รู้ตัวตามๆ กัน! หลังจากนั้นต่างต่อแถวแนวเรียงคิวไปชดใช้เวรใช้กรรมชั่วที่ตนทำไว้นั้นๆ อย่างมีชีวิตจิตใจและมีอนาคตที่มืความมืดมนยิ่งนัก!! อย่างชนิดที่ไม่สามารถหลีกได้ นับตั้งแต่หลัง "พระพุทธกาล" เป็นต้นมากระทั่งถึงวันที่ข้าพเจ้า ฯ ก่อตั้ง www.buddhamap.org (10/01/2018) เป็นต้นมากระทั่งปัจจุบันนี้ ฯ ที่ไม่ใช่หน้าที่ของคนทุศีลโดยทั่วไปจะทำได้ เพราะเป็นการนำเสนอธรรมะที่ลึกซึ้งครอบคลุมรอบด้าน ซึ่งจะต้องคงความเป็นกลางและให้ความยุติธรรมกับทุกฝ่าย อนึ่งว่าข้าพเจ้าผู้ซึ่งสร้างบารมีมาทางด้านนี้โดยตรง ซึ่งเป็นการสร้างสมบ่มเพาะบารมีอันมากกัปป์กัลล์อันนับภพชาติกันให้ครบถ้วนนั้นค่อนข้างยาก ฯ กระทั่งมีสภาวะจิตบรรลุถึงขั้นที่สามารถนำความรู้ทางกุศลธรรมที่ได้สร้างสมไว้นั้นออกมาใช้ได้ จึงทำให้รู้วิธีนำเสนอและสามารถเข้าถึงพระธรรมคำสอนต่างๆ และสามารถสืบค้นยกพระสูตรนั้นๆ ออกมาจาก 84000.org ดั่งที่ได้นำเสนอไว้ดังกล่าวตามความเป็นจริงมาทั้งหมดตามนี้ สรุปโดยย่อคือ "น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า" ! และเห็นด้วยกับดอกบัวสามเหล่ามากกว่าสี่เหล่า! พรหมสังยุต ปฐมวรรคที่ ๑ อายาจนสูตรที่ ๑ Updated: 23/04/2016 14:51:45., 28/04/2016 13:13:10-51., 26/07/2018 18:51:45-51., 27/07/2018 17:36:45-51., 27/072018 17:41:51-59., 27/07/2018 18:05:51., 27/07/2018 18:06:45-51., 27/07/2018 18:22:45-51., 18/07/2018 18:41:45-51.

[๑๐๖] ดูกรอานนท์ สมัยหนึ่ง เราอยู่ที่โคตมกเจดีย์ เขตเมืองเวสาลีนี้เอง ... เราอยู่ที่สัตตัมพเจดีย์ เขตเมืองเวสาลีนี้เอง ... เราอยู่ที่พหุปุตตเจดีย์เขตเมืองเวสาลีนี้เอง ... เราอยู่ที่สารันททเจดีย์ เขตเมืองเวสาลีนี้เอง ... วันนี้ เมื่อกี้นี้เอง เราบอกเธอที่ปาวาลเจดีย์ว่า ดูกรอานนท์ เมืองเวสาลีน่ารื่นรมย์ อุเทนเจดีย์ โคตมกเจดีย์ สัตตัมพเจดีย์ พหุปุตตเจดีย์ สารันททเจดีย์ ปาวาลเจดีย์ต่างน่ารื่นรมย์ อิทธิบาททั้ง ๔ (วิภังคสูตร - วิธีเจริญอิทธิบาท ๔ / อิทธิปาทวิภังค์ หรือ ปฐมผลสูตรที่ ๔ หรือ อิทธิบาท ๔ / พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๑ - สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค) อันผู้ใดผู้หนึ่งเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว กระทำให้เป็นดุจยาน กระทำให้เป็นดุจพื้น ให้ตั้งมั่นแล้ว อบรมแล้ว ปรารภดีแล้วผู้นั้น เมื่อจำนงอยู่ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัป หรือเกินกว่ากัป Updated: 27/07/2016 03:20:45-51.

ดูกรอานนท์ อิทธิบาททั้ง ๔ ตถาคตเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว กระทำให้เป็นดุจยาน กระทำให้เป็นดุจพื้น ให้ตั้งมั่นแล้ว อบรมแล้ว ปรารภดีแล้ว ตถาคตนั้น เมื่อจำนงอยู่ พึงดำรงอยู่ได้ตลอดกัป หรือเกินกว่ากัป เมื่อตถาคตกระทำนิมิตอันหยาบ ทำโอภาสอันหยาบอย่างนี้ เธอมิอาจรู้ทัน จึงมิได้วิงวอนตถาคตว่า ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงดำรงอยู่ตลอดกัป ขอพระสุคตจงทรงดำรงอยู่ตลอดกัป เพื่อประโยชน์ของชนเป็นอันมาก เพื่อความสุขของชนเป็นอันมาก เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ถ้าเธอวิงวอนตถาคต ตถาคตจะพึงห้ามวาจาเธอเสียสองครั้งเท่านั้น ครั้นครั้งที่สาม ตถาคตพึงรับ เพราะฉะนั้นแหละ อานนท์ เรื่องนี้ เป็นความผิดพลาดของเธอผู้เดียว ฯ ๓. มหาปรินิพพานสูตร (๑๖) / พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒ - ทีฆนิกาย มหาวรรค

สรุปผลลัพภ์จากการความผิดพลาดของ "ท่านพระอานนท์เถระเจ้า" จึงกลับกลายเป็นการเบียดเบียนทำลาย "วิถีชีวิตการครองเรือนแบบ ศากบุตร และ นักบวชแบบพระศากยบุตร" โดยทางอ้อม ฯ แต่พระญาติผู้ที่ไม่มีความอาวุโสนั้น ฯ คือผู้ที่เน้นย้ำเฉพาะเจาะจงในทางโลก ฯ "แบบโลกๆ!" โดยปราศจาก "พระธรรมคำสั่งสอนแด่พระพุทธองค์ ฯ" ในหัวจิตหัวใจ จึงส่งผลทำให้พวกเหล่าพญาพรหมมารอื่นๆ และ พญามารสัตตวัสสะ/ปธานสูตรที่ ๒/สัตตวัสสสูตรที่ ๔ ได้สบโอกาสลงมือปฏิบัติการทำลาย ความเป็น "พุทธบริษัท ๔ ที่มีทั้ง ศากบุตรและพระศากยะบุตร และโลกใบนี้" โดยเฉพาะมีการล่วงละเมิดเบียดเบียนจองเวรพยาบาทเกิดขึ้นอยู่ทั่วไปตามทั่วทุกมุมโลก ฯ อย่างโหดร้าย! เหี้ยมโหด! อย่างทารุณ! ต่อ "สตรีเพศ และรวมไปถึงทุกเพศทุกวัย ฯ" ที่เห็นได้จากสื่อต่างๆ ตลอดรวมไปถึงการล่วงละเมิดทางเพศต่อ "สตรีเพศ" โดยเฉพาะผ่านทาง "กระแสจิตและโลกของดวงจิตวิญญานตนนั้นๆ ฯ" โดยตรงอย่างไร้ความเมตตาธรรมและโหดร้ายอำมหิตสิ้นดีแล!

อนึ่ง! พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าโคตมะพระองค์นั้น ฯ หรือ The Gautama Buddha พระองค์นั้น ฯ" ทรงเสด็จอุบัติขึ้นบนโลกนั้น ฯ ด้วยเหตุผลหลักตามความเป็นไปได้ที่แท้จริงต่อ "มนุษย์โลก" ทั้งๆ ที่มนุษย์โลกโดยส่วนใหญ่ในปัจจุบัน ฯ ต่างเป็นบุคคลที่มีบุญบารมีและต่างก็ได้สะสมบ่มเพาะผลบุญบารมีมาแต่ครั้งสมัยทธกาลเป็นพุทธกาลเป็นหลัก ฯ ดังนั้น มนุษย์ควรมีอายุยืนประมาณ 150 - 200 - 300 ถึง 551 ปี ขึ้นไปเป็นต้นแล ฯ Updated: 17/01/2023 08-09-10-11-13-22-51:41-45-51-54-55-56-57-58-59.

The Author's opinion: The two paragraphs from the Nibbana Sutta/๓. มหาปรินิพพานสูตร (๑๖)/The Nirvana/Nibbana Sutra/Sutta (16) mentioned above obviously suggest that the Buddha wanted people to learn about the spirit of mind in the Sopanna state. This Sutta proves that you can't rely on people in the Sopanna state to be your perfect leader because their spirits still cling to the worldly life, even though they practice the five precepts strictly, though eventually they will attain Nibbana after being reborn three or seven times. Furthermore their decisions are sometimes still influenced by people close to them who haven't attained any of the first Ariya states of mind. The Dhamma Teaching of the Gautama Buddha is very hard to understand; the knowledge is attained by wise individuals, and has nothing to do with team work. สัทธาสูตร ว่าด้วยศรัทธาของพระอริยสาวก/Sattha Sutra/Sutta: The discipline of the Ariya Monks who are faithful to the Dhamma Teaching / สัมพหุลสูตรที่ ๑/Sambahulla Sutra/Sutta 1: The skilful practice the Dhamma Teaching. Updated: 17/08/2016 15:10:45., 01/11/2016 13:15:45.

Significantly, when we seriously consider the meaning of the position of, 'Attendant to The Buddha' it means nothing when compared to the words of 'The Buddha (the Sammasam Buddha, such as the Gautama Buddha)'. If the Attendant to The Buddha doesn't take full responsbility for their role by faithfully listening to all the words of The Buddha, his stubborness could consistently cause very negative consequences to others and the position of the Attendant will have less respect in the public, even though The Buddha commented that he attended Him very well. This is because the words of 'The Buddha' are of the greatest value ever and nothing can compare to them. The Nirvana/Nibbana Sutta obviously proves that The Buddha intended to support The Venerable Ananda to eventually attain the Arahanta in The Venerable Ananda's lifetime. Updated: 27/08/2016 13:41:45-51., 28/04/2017 13:24:45-51., 29/04/2017 08:22:45-51.

Furthermore, the Venerable Ananda's brothers (when he, the Venerable Ananada was attained the Sopanna States of Mind/Spirit), who spirits were directly parts of the Venerable Ananda reborn, did not attain the first Sakkayabutta and Pra Sakkayabutta state of mind. But they were fulfilled in the worldly life of Parami - the power of impermanent goodness which relies on living in the worldly life.

They were considered to be, 'The real servants to gain Parami in exchange for helping the Venerable Ananada to attend The Buddha'. After they had gained full Parami, they decided to follow their plans to fight against the Dhamma Teaching of The Guatama Buddha (fight against Buddhism while I'm trying to protect the Dhamma Teaching alongside my ancestors - the Sakkayabuttas, and work under the Ariya Gods and the Arahanta (the Highest Ariya State of Mind/Spirit)) by starting new religions from around 543BE (543 years after the Buddha passed away) onwards. Though the Buddha found out their plans beforehand He ignored them because He simply wanted the Venerable Ananda to attain the Arahanta state of mind and wanted to support him to do that in order to end the life of sufferring, as other Arahantas did in His lifetime. See more details on Dhamma 3.Updated: 01/10/2016 13:26:45-51.

-----------------------------------------------------

11. พระคาถายันทุน  เสริมดวงชะตา

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
 

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
 

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ

คำแปล: ขอสิ่งอัปปมงคลเหล่านั้นถึงความพินาศไปด้วยอานุภาพของพระพุทธเจ้า พระธรรมะ พระสังฆเจ้า (สวด ๓, ๙ จบ ขึ้นไปแล ฯ)

๙. โมรชาดก – ว่าด้วยนกยูงเจริญพระปริตต์ - ว่าโดยย่อ หรือ บทสวดย่อ (อย่างน้อยควรสวด ๓ จบ ทุกๆ เช้า-เย็น)

[๑๖๗] อุเทตยญฺจกฺขุมา เอกราชา หริสฺสวณฺโณ ปะฐะวิปฺปภาโส ตํ ตํ นมสฺสามิ หริสฺสวณฺณํ ปะฐะวิปฺปภาสํ ตยชฺช คุตฺตา วิหเรมุ ทิวสนฺติ ฯ - พระอาทิตย์นี้ เป็นดวงตาของโลก เป็นเจ้าแห่งแสงสว่างอย่างเอก กำลังอุทัยขึ้นมาทอแสงสว่างอร่ามไปทั่วปฐพี เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์นั้น ซึ่งมีสีทองส่องแสงสว่างอร่ามไปทั่วปฐพี ข้าพเจ้าอันท่านคุ้มกันคุ้มครองแล้วในวันนี้ พึงอยู่เป็นสุขตลอดวัน

เย พฺราหฺมณา เวทคุ สพฺพธมฺเม เต เม นโม เต จ มํ ปาลยนฺตุ นมตฺถุ พุทฺธานํ นมตฺถุ โพธิยา นโม วิมุตฺตานํ นโม วิมุตฺติยา อิมํ โส ปริตฺตํ กตฺวา โมโร จรติ เอสนา ฯ - พราหมณ์เหล่าใดผู้ถึงฝั่งแห่งเวทในธรรมทั้งปวง ขอพราหมณ์เหล่านั้น จงรับความนอบน้อมของข้าพเจ้า และขอจงคุ้มกันคุ้มครองข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ฯ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระโพธิญาณ ฯ ขอนอบน้อมแด่ท่านผู้หลุดพ้นแล้ว ขอนอบน้อมแด่วิมุตติธรรม ของท่านผู้หลุดพ้นแล้ว นกยูงนั้น เจริญพระปริตต์นี้แล้วจึงเที่ยวไปแสวง หาอาหาร

[๑๖๘] อเปตยญฺจกฺขุมา เอกราชา หริสฺสวณฺโณ ปะฐะวิปฺปภาโส ตํ ตํ นมสฺสามิ หริสฺสวณฺณํ ปะฐะวิปฺปภาสํ ตยชฺช คุตฺตา วิหเรมุ รตฺตึ ฯ - พระอาทิตย์นี้ เป็นดวงตาของโลก เป็นเจ้าแห่งแสงสว่างอย่างเอก ทอแสงสว่างอร่ามไปทั่วปฐพีแล้วอัสดงคตไป เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์นั้น ซึ่งมีสีทองส่องแสงสว่างอร่ามไปทั่วปฐพี ข้าพเจ้าอันท่านคุ้มกันคุ้มครองแล้วในวันนี้ พึงอยู่เป็นสุขตลอดคืน

เย พฺราหฺมณา เวทคุ สพฺพธมฺเม เต เม นโม เต จ มํ ปาลยนฺตุ นมตฺถุ พุทฺธานํ นมตฺถุ โพธิยา นโม วิมุตฺตานํ นโม วิมุตฺติยา อิมํ โส ปริตฺตํ กตฺวา โมโร วาสมกปฺปยีติ ฯ - พราหมณ์เหล่าใด ผู้ถึงฝั่งแห่งเวทในธรรมทั้งปวง ขอพราหมณ์เหล่านั้น จงรับความนอบน้อมของข้าพเจ้า และขอจงคุ้มกันคุ้มครองข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ฯ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระโพธิญาณ ฯ ขอนอบน้อมแด่ท่านผู้หลุดพ้นแล้ว ขอนอบน้อมแด่วิมุตติธรรมของ ท่านผู้หลุดพ้นแล้ว นกยูงนั้นเจริญพระปริตต์นี้แล้วจึงสำเร็จการอยู่

@เชิงอรรถ: ๑ ม. มาติมญฺิฏฺโ ฯ ๒ ม. สุหนูสห ฯ ๓ ม. สุหนูปิ ฯ ๔ ม. อสตา อสนฺติ ฯ Updated: 24/07/2018 11-13:22-41-45-51-55-56-57-58-59-59:55., 25/07/2018 13:22-23-24:1-2-3-4-5-6-7-8--9-10-11-12-13-22-41-45-51-54-55-56-57-58-59.

Note: จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับ "พุทธบริษัท ๔ " ทั้งหลาย ฯ ควรสวดสาธยาย " ๙. โมรชาดก - ว่าด้วยนกยูงเจริญพระปริตต์ / อรรถกถา โมรชาดก - ว่าด้วย นกยูงเจริญพระปริตต์ / ๙ โมรชาตกํ (พระโมรปริตต์ชาดกสูตร) 1 จบ/รอบ หรือ 3 จบ/รอบ หรือ 9 จบ/รอบ หรือ 10 จบ/รอบ เป็นต้น ฯ" พร้อมกับคำแปลทุก เช้า-เย็น ในช่วงเวลาเช้าให้สวดเฉพาะ "วรรคประจำวรรคเช้า (บรรทัดนี้ไม่ต้องสวดก็ได้ "นกยูงนั้น เจริญพระปริตต์นี้แล้วจึงเที่ยวไปแสวงหาอาหาร") และก่อนเข้านนอนให้สวดเฉพาะ วรรคประจำวรรคเย็นหรือคืนของวันนั้นๆ แล ฯ (บรรทัดนี้ไม่ต้องสวดก็ได้ "นกยูงนั้นเจริญพระปริตต์นี้แล้วจึงสำเร็จการอยู่") " เป็นประจำทุก เช้า-เย็นหรือทุกคืนของวันนั้นๆ ฯ เพื่อเพิ่มความอยู่รอดปลอดภัยจากภัยอันตรายทั้งหลายทั้งปวง ฯ อย่างคลอบคลุมรอบด้าน ฯ ได้เป็นอย่างดียิ่งดีนักแล ฯ

ไม่ว่าบุคคลเหล่าใดก็ตาม ที่ถูกพวกพญามารและหรือพาลบัณทิตอาศัยบารมีเพื่อยังชีพและเป็นที่พึ่งของเผ่าพันธุ์ของพวกมัน พวกบุคคลผู้มีบารมีเหล่านั้น ฯ ซึ่งถ้าหากโชคดีดวงแข็งอยู่ ฯ แต่จะต้องกลายสภาพกลับชาติเกิดเป็นคนจนตาม "กฎปฏิจจสมุปบาท" และมีชาติเกิดที่เป็นภพภูมิที่ต่ำกว่า คน หรือ มนุษย์ ตาม "กฎปฏิจจสมุปบาท" นั้นแล ฯ Those or these people who are the types and ethnic groups who formerly separate ethnicities crop up to form a pan-ethnicity people; who had the inhumane hearts/souls/mind/spirits and cold-blooded to kill, hold up and break off others who are trying to seek practising the journey of their spiritaul of their hears and/or souls and/or minds/spirits to attain the higher places and the Highest place or to enlighten on Nibbana/Nirvana

อนึ่ง เพื่อเพิ่มความเป็นมหาศิริมงคลสูงยิ่งๆ ขึ้นไป ควรสวดสาธยายควบกันกับ "พระรัตนสูตร ในขุททกปาฐะ-พระปริตร (บุคคลควรสวดท่องสาธยายตามนี้ที่ข้าพเจ้า ฯ ได้แก้ไขให้ถูกต้องตามข้อความในประโยคดังนี้ "มีดังนี้ ..พระอริยบุคคลเหล่าใดในศาสนาของพระพุทธเจ้าโคดมพระองค์นั้น ฯ และ ..พระอริยบุคคลนั้น ยังประมาทอย่างแรงกล้า ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ก็จริง ถึงกระนั้น ท่านย่อมมิอาจจะปกปิดบาปกรรมนั้น ความที่บุคคลผู้มีธรรมอันเป็นเครื่องให้นิพพานอันตนเห็นแล้ว บุคคลเหล่านั้นย่อมมิอาจจะปกปิดบาปกรรมนั้น)" และหรือสวดสาธยายควบกันกับพระสูตรอื่นๆ เป็นต้น ฯ ๙. อาฏานาฏิยสูตร (๓๒) / อรรถกถา วัฏฏกชาดก - ว่าด้วย การใช้ความคิด / พุทธาปทานที่ ๑ - ว่าด้วยเหตุให้สำเร็จเป็นพระสัพพัญญูพุทธเจ้า / วฏฺฏกชาตกํ / อรรถกถา วัฏฏกชาดก - ว่าด้วย ความจริง / อรรถกถา วัฏฏกชาดก - ว่าด้วย การทำให้เกิดความสุข / ๔. จวมานสูตร / พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๙ - ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ Updated: 13/06/2018 11:45:51-59., 13/06/2018 13:14:45-51., 13/06/2018 13:22:45., 09/12/2024 07:08-11-13:41-45-51-54-55-56-57-58-59., 13/12/2024 01:11-13-22:41-45-51-54-55-56-57-58-59.

อุณหิสสวิชะโยคาถา หรือ อุณหิสสวิชัยคาถา

หมายเหตุ: วรรคนี้จะไม่สวดสาธยายก็ได้ หรือ จะสวดสาธยายก็ดีแล แต่ควรอ่านท่องจำดีนักแล ฯ ในสมัยหนึ่งพระบรมศาสดาเสด็จประทับอยู่เหนือพระแท่นศิลาอาสน์ภายใต้ต้นปาริกชาติ ณ ดาวดึงสพิภพ ตรัสพระสัทธรรม เทศนา อภิธรรม 7 คัมภีร์ โปรดพุทธมารดา ในกาลครั้งหนึ่งนั้นมีเทพบุตรองค์หนึ่ง นามว่าสุปติฏฐิตาได้เสวยทิพย์สมบัติอยู่ชั้นดาวดึงส์มาช้านาน ก็อีก 7 วัน จะสิ้นบุญจุติจากดาวดึงส์ ลงไปอุบัติในนรกเสวยทุขเวทนาอยู่ตลอดแสนปี ครั้นสิ้นกรรมในนรกนั้นแล้วก็จะไปบังเกิดเป็นสัตว์ดิรัจฉาน 7 จำพวก เสวย วิบากกรรมอยู่ 500 ชาติ ทุก ๆ จำพวก.. _ ..เมื่อท้าวอมรินทร์ทรงทราบแล้ว ก็มีความเมตตาสงสารแก่สุปติฏฐิตาเทพบุตร ยิ่งนัก จึงกราบทูลให้พระองค์ทรงแสดงพระสัจธรรมเทศนาอันจะเป็นที่พึ่งแก่สัตว์โลก ช่วยชีวิตเทพบุตรองค์นี้ไว้ไม่ให้ตายลงภายใน 7 วันนี้ สมเด็จพระบรมศาสดาจึงตรัสเทศนาคาถาอุณหิสสวิชัย มีใจความดังต่อไปนี้

หมายเหตุ: วรรคสวดสาธยายหลักๆ ฯ บทนำ: หันทะมะยัง อุณหิสสะวิชะยะคาถาโย ภะณา มะเส

อตฺถิ อุณฺหิสฺสวิชโย ธมฺโม โลเก อนุตฺตโร สพฺพสตฺตหิตตฺถายตํ ตฺวํ คณฺหาหิ เทวเต ปริวัชฺเช ราชทณฺเฑ อมนุสฺเสหิ ปาวเก พยคฺเฆ นาเค วิเสภูเต อกาลเร เณนวา สพฺพสฺมา มรณามุตฺโต ฐเปตวา กาลมาริตํ

สุทฺธสีลํ สะมาทายะ อิทัมปิ พุทเธ/พุทธัง ระตะนัง ปะณีตัง ฯ ตสฺเสว/ตัสสะเสยโย อานุภาเวนโหตุ เทโวสุขี สทา ฯ

สุทธะสีลัง สะมาทายะ อิทัมปิ ธฺมเม/ธมฺมํ ระตะนัง ปะณีตัง ฯ สุจริตํ จเร ตสฺเสว/ตัสสะเสยโย อานุภาเวนโหตุ เทโวสุขี สทา ฯ

สุทธะสีลัง สะมาทายะ อิทัมปิ สฺงเฆ ระตะนัง ปะณีตัง ฯ สุจริตํ จเร ตสฺเสว/ตัสสะเสยโย อานุภาเวนโหตุ เทโวสุขี สทา ฯ

สุทธะสีลัง ลิกฺขิตตํ ธารณํ สุตตัง วาจนํ ปูชํ พุทเธ/พุทธัง ธัมเม/ธมฺมํ สังเฆ/สังฆัง คะรุ จินติตัง ปเรสํ เทสนัง เทสนา สุตฺตวา เทวเต ตัตระ โข ภควา อายุปวฑฺฒตีติ ฯ

หมายเหตุ/Note: "คะรุ จินติตัง"

-----------------------------------------------------

บทนำ: หันทะมะยัง อุณหิสสะวิชะยะคาถาโย ภะณา มะเส

อัตถิ อุณหิสสะวิชะโย ธัมโม/ธรรมโม โลเก อะนุตตะโร สัพพะสัตตะ หิตตะถายะตัง ตะวัง เทวะเต ปะริวัชเช ราชะทัณเฑ อะมะนุสเสหิ ปาวะเก พะยัคเฆ นาเค วิเสภูตา อะกาละเร เณนะวา สัพพะพัสสะมา มะระณามุติโต ฐะเปตุวา กาละมาริตัง

สุทธะสีลัง สะมาทายะ อิทัมปิ พุทเธ/พุทธัง ระตะนัง ปะณีตัง ฯ ตัสเสวะ/ตัสสะเสยโย อานุภาเวนะโหตุ เทโวสุขี สะทา ฯ

สุทธะสีลัง สะมาทายะ อิทัมปิ ธฺมเม/ธมฺมํ/ธรรมมัง ระตะนัง ปะณีตัง ฯ สุจริตตัง จะเร ตัสเสวะ/ตัสสะเสยโย อานุภาเวนะโหตุ เทโวสุขี สะทา ฯ

สุทธะสีลัง สะมาทายะ อิทัมปิ สฺงเฆ ระตะนัง ปะณีตัง ฯ สุจริตตัง จะเร ตัสเสวะ/ตัสสะเสยโย อานุภาเวนะโหตุ เทโวสุขี สะทา ฯ

สุทธสีลัง ลิกขิตตัง ธาระณัง สุตตัง วาจะนัง ปูชัง พุทเธ/พุทธัง ธัมเม/ธมฺมํ/ธัมมัง สังเฆ/สังฆัง คะรุ จินติตัง ปะเรสัง เทสะนัง เทสะนา สุตตะวา ตัตระ โข/ตัตตะระ โข ภะคะวา เทวะเต อายุปะวัฑฒะตีติ ฯ

หมายเหตุ: "คะรุ จินติตัง"

หมายเหตุ/Note: วรรคสวดสาธยายหลักๆ ฯเทวเต ดูกรเทวดาทั้งหลาย พระธรรมนี้ชื่อว่าอุณหิสสวิชัย เป็นยอดแห่งพระธรรมทั้งหลายเป็นประโยชน์แก่สัตว์ทั้งมวล ท่านจงเอาพระธรรมนี้เป็นที่พึ่ง อุตสาห์สวดบ่นสาธยายทุกเช้าค่ำ ย่อมห้ามเสียซึ่งภัยทั้งปวง อันจะเกิดขึ้นจากพวกผูตผีปิศาจ หมู่พยัคฆะ งูใหญ่งูน้อย และพวกพญาเสนามารอำมาตย์ทั้งหลาย จะไม่ตาย ผู้ใดได้เขียนไว้ก็ดี ได้ฟังก็ดี ได้สวดมนต์ภาวนาอยู่ทุกวันก็ดี จะมีอายุยืน เทวเต ดูกรเทวดา ทั้งหลายท่านจงมีความสุขเถิด อนึ่งบุคคลผู้ใดบูชาคุณพระศรีรัตรตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ นี้เป็นยาอันอุดม ย่อมคุ้มครองผู้นั้นให้พ้นจากทุกข์ภัยพยาธิทั้งปวง ด้วยอำนาจพระอุณหิสสวิชัยนี้ จะรักษาคุ้มครองให้ชีวิตของท่านเจริญสืบต่อไป ท่านจงรักษาไว้ให้มั่นอย่าให้ขาดเถิด ฯ

หมายเหตุ: วรรคนี้ไม่จำเป็นต้องสวดสาธยายแล ฯ แต่ควรท่องจำไว้ดีนักแล ฯ เมื่อจบพระสัทธรรมเทศนาลง เทวดาทั้งหลายมีท้าวอมรินทร์เป็นประธานได้ดื่มรสแห่งพระสัทธรรมเป็นอันมาก ฝ่าย สุปติฏฐิตาเทพบุตร มีจิตน้อมไปตามกระแสแห่งพระธรรมเทศนานั้น ได้กลับอัตตภาพใหม่ คือ มีกายอันผ่องใส เป็นเทวบุตรหนุ่มคืนมาแล้วจะมีอายุยืนตลอดไปถึงพระพุทธพระนามว่า ศรีอริยเมตไตรยลงมาตรัสจึงจะจุติจากเทวโลกลงมาสู่มนุษย์โลก เป็นพระอรหันตขีณาสวะองค์หนึ่ง ดังนั้นขอพุทธบริษัททั้งหลาย จงสำเนียกไว้ในใจแล้วประพฤติปฏิบัติในพระคาถา อุณหิสสวิชัย ก็จะสมมโนมัยตามความปรารถนาทุกประการ Updated: 17/12/2024 22-23:51:45-51-54-55-56-57-58-59., 19/12/2024 13:22-51:41-45-51-54-55-56-57-58-59., 22/12/2024 11-13:41-45-51-54-55-56-57-58-59.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

12.มงคลสูตรในขุททกปาฐะ

๑. พะหู เทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง อากังขะมานา โสตถานัง พรูหิ มังคะละมุตตะมังฯ
เหล่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเป็นอันมาก เป็นผู้มีตนปราถนาแสวงหาความสวัสดีมงคล จึงได้พากันคิดหามงคลทั้งหลาย ขอพระพุทธองค์จงทรงตรัสตอบอุดมมงคลอันเป็นสิ่งอุดมมงคลสูงสุดเทิดพระเจ้าข้า ฯ

๒. อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัญฑิตานัญจะ เสวะนาปูชา จะปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ
ลำดับนั้น พระพุทธเจ้าทรงตรัสตอบด้วยคาถาเหล่านี้ว่า - การไม่คบคนพาล ๑ การคบบัณฑิต ๑ การบูชาบุคคลที่ควรบูชา ๑ นี้เป็นอุดมมงคลสูงสุด

๓. ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ
การอยู่ในประเทศอันควร ๑ การเป็นผู้ได้ทำความดีให้ถึงพร้อมไว้ก่อนหนึ่ง ๑ การตั้งตนไว้ชอบ ๑ นี้เป็นอุดมมงคลสูงสุด

๔. พาหูสัจจัญจะ สิบปัญจะวินะโย จะ สุสิกขิโต สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ
การมีตนเป็นผู้มีพหูสัจจะ ๑ (การมีตนเป็นผู้ฟังด้วยความตั้งใจที่เป็นสิ่งนำสู่ความเป็นประโยชน์เกื้อกูล และนำไปสู่การเข้าถึงซึ่ง อริยสัจ ๔) การมีตนเป็นผู้มีการศึกษาเล่าเรียนมาก ๑ การมีตนเป็นผู้มีศีลปะวิทยา ๑ การมีตนเป็นผู้มีระเบียบวินัย ๑ การมีตนเป็นผู้มีวาจาสุภาษิต ๑ (มีสัจจะวาจา คือ พูดแต่ความจริงที่ตรงตามความเป็นจริง ซึ่งเป็นสิ่งนำไปสู่การเกิดความรู้ที่ถูกต้องแท้จริง เพื่อเกิดความมีประโยชน์เกื้อกูล) นี้เป็นอุดมมงคลสูงสุด

๕. มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ
การบำรุงมารดา-บิดา ๑ การสงเคราะห์บุตร-ภรรยา ๑ การมีงานไม่คั่งค้างอากูล ๑ นี้เป็นอุดมมงคลสูงสุด

๖. ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ
การห้ทาน ๑ การประพฤติธรรม ๑ (การดำรงตนอยู่ในศีลในธรรม) การสงเคราะห์ญาติ ๑ การประกอบการงานอันไม่มีโทษ ๑ นี้เป็นอุดมมงคลสูงสุด

๗. อาระตี วะระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ
การมีตนเป็นผู้งดเว้นจากการกระทำปาณาติบาต (การมีตนงดเว้นจากการทำให้ชีวิตสัตว์ตกล่วงไป) ๑ การมีตนเป็นผู้งดเว้นจากการดื่มน้ำเมา ๑ การมีตนเป็นผู้ไม่ประมาทในธรรมทั้งปวง ๑ นี้เป็นอุดมมงคลสูงสุด

๘. คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ
การมีตนเป็นผู้มีความเคารพ ๑ การมีตนเป็นผู้ประพฤติสุภาพอ่อนน้อมถ่อมตน ๑ การมีตนเป็นผู้รักความสันโดษ ๑ (หรือ การมีตนเป็นผู้มีความยินดีพอใจการปลีกวิเวก และในสิ่งที่มีที่หามาได้จากการประกอบอาชีพการงานที่สุจริต ว่าด้วยวิเวก ๓ อย่าง) การมีตนเป็นผู้มีความกตัญญู ๑ การมีตนเป็นผู้ได้ฟังธรรมตามกาลอันควร ๑ นี้เป็นอุดมมงคลสูงสุด

๙. ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ
การมีตนเป็นผู้มีความอดทนอดกลั้น ๑ การมีตนเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย ๑ การมีตนเป็นผู้ได้พบเห็นสมณพราหมณ์ ๑ การมีตนเป็นผู้ได้สนทนาฟังธรรมตามกาลอันควร ๑ นี้เป็นอุดมมงคลสูงสุด

๑๐. ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ
การเป็นผู้มีตนมีความเพียรเผากิเลส ๑ การประพฤติพรหมจรรย์ ๑ การได้เห็นอริยสัจจ์ ๑ ( การมีตนเป็นผู้ได้เห็นธรรมอันเป็นเครื่องให้ถึงพระนิพพานอันตนเห็นแล้ว) การมีตนเป็นผู้เป็นผู้ถึงพร้อมในการทำพระนิพพานให้แจ้ง ๑ นี้เป็นอุดมมงคลสูงสุด

๑๑. ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ
การมีตนเป็นผู้ถูกโลกธรรมจิตไม่หวั่นไหว ๑ การมีตนเป็นผู้มีจิตปราศจากความเศร้าหมอง ๑ การมีตนเป็นผู้มีจิตปราศจากธุลี ๑ การมีตนเป็นผู้มีจิตอันเกษม ๑ นี้เป็นอุดมมงคลสูงสุด

๑๒. เอตาทิสานิ กัตวานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา สัพพัตถะโสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ
การที่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเหล่านั้น ฯ ได้กระทำมงคลเช่นนี้แล้ว ย่อมเป็นผู้ไม่ปราชัยในข้าศึกทุกหมู่เหล่าในที่ทุกสถาน ด้วยเหตุฉะนี้แล ย่อมเป็นผู้ถึงความสวัสดีในที่ทั้งปวง ฯ นี้เป็นอุดมมงคลอันสูงสุดของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเหล่านั้น ฯ

12.1. Mangala Suttam – The Most Auspicious Blessings

1. Bahu deva manussac ca Mangalani acintayum, Akankhamana sotthanam Bruhi mangalamuttamam

Many deities and men have pondered on auspicious blessings in the quest for well-being. Please, Blessed One, enunciate the most auspicious blessings.

2. Asevana ca balanam, Panditananca sevana, Puja ca pujaniyanam, Etammangalamuttamam

The Blessed One said: Avoiding wrong company, associating with the wise and revering those to be revered; these are the most auspicious blessings.

3. Patirupadesavaso ca Pubbe ca katapuñata, Attasammapanidhi ca Etamungalamuttamam

Residing in a suitable locality, being endowed with merits of past deeds and setting oneself on the righteous course; these are the most auspicious blessings.

4. Bahusaccanca sippanca, Vinayo ca susikkhito, Subhasita ca ya vaca, Etammangalamuttamam

Ample learning, skilled in the arts and sciences, being highly trained and disciplined and being gifted with pleasant speech which is truly honest; attentive intentions in speech, based on truth which will lead to advantages for oneself and others; to respond and to support any essential inquiry which will optimize the efficiency of the holy system and the circumstances of the holy worldly-dichotomies; attentive listening which will benefit oneself and others and also lead to the understanding of the Four Noble Truths (อริยสัจ ๔); these are the most auspicious blessings.

5. Matapitu upatthanam, Puttadarassa sangaho, Anakula ca kammanta, Etammangalamuttamam

Supporting of mother and father, cherishing of children and wife and pursuing a blameless occupation; these are the most auspicious blessings.

6. Dhananca dhammacariya ca Natakanaca sangaho, Anavajjani kammani Etammangalamuttamam

Generosity and virtuous conduct, being helpful to relatives and irreproachable in actions; these are the most auspicious blessings.

7. Arati virati papa, Majjapana ca sañamo, Appamado ca dhammesu, Etammangalamuttamam

Indifference to and refraining from killing or evil acts, abstaining from intoxicants and not being negligent in spiritual matters; these are the most auspicious blessings.

8. Garavo ca nivato ca Santutthi ca katannuta, kalena dhammassavanam, Etammangalamuttamam

Being reverential and modest; being contented in reclusiveness, having an ethical livelihood, grateful and regularly listening to spiritual discourses; these are the most auspicious blessings.

9. Khanti ca sovacassata, Samanananca tassanam, Kalena dhammasakaccha, Etammangalamuttamam

Enduring patience, openness to correction, seeing holy people to engage in spiritual discussions at the right time and in the right place (but do not take refuge unto them accepted the Dhamma Teaching of the Gautama Buddha - "จงมีธรรมเป็นที่พึ่ง จงมีตนเป็นสรณะ อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นสรณะ จงมีธรรมเป็นเกาะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่งอยู่เถิด" คิลานสูตร - ว่าด้วยมีตนเป็นเกาะ/ Khilan Sutra: The practise of maintaining of self reliance based on the Dhamma Teaching of the Gautama Buddha - ๗๑๑... / อัตตทีปสูตร วรรคที่ ๕ ๑. อัตตทีปสูตร - ว่าด้วยการพึ่งตนพึ่งธรรม/Attathipa Sutra: The principle and the discipline of maintaining self reliance based on the Dhamma Teaching of the Gautama Buddha); these are the most auspicious blessings.

Note: The Buddha said to the Venerable Ananda, 'Be an illuminating lamp of wisdom and a refuge unto yourself. Look for no other refuge; let the Truth be your lamp of wisdom and your refuge and follow the Dhamma Teaching strictly.' He said this because He wanted the Venerable Ananda to be fully aware of false prophets.

10. Tapo ca Brahmacariyanca, Ariyasaccana dassanam, Nibbanasacchikiriya ca, Etammangalamuttamam

Practising austerity, leading the holy life, winning insight into the Noble Truths (the Four Noble Truths) and realising Nibbana; these are the most auspicious blessings. อริยสัจ ๔/[๑๖๖๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขอริยสัจนี้แล คือ / [๒๙๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือ อริยสัจ ๔ / ยุคนัทธวรรค สัจจกถา - นิทานในกถาบริบูรณ์)

11. Phutthassa lokhadhammehi, Cittam yassa na kampati, Asokham virajam khemam, Etammangalamuttamam

When confronted by worldly dichotomies the mind does not tremble; a state beyond sorrow – taint-free and secure; these are the most auspicious blessings.

12. Etadisami katvana, Sabbatthamaparajita, Sabbattha sotthim gacchanti, Tamtesam mangalamuttaman'ti

Those who act in the aforesaid ways are invincible always and go about happily everywhere; these, then are the most auspicious blessings.

(The English text is for reference only - you should recite the Pali text)

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

13. กรณียเมตตสูตรในขุททกปาฐะ

๑. กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี
กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปราถนาเพื่อความตรัสรู้อนุตตรธรรม อันเป็นแดนสงบที่ไม่มีธรรมใดยิ่งไปกว่า คือ พระนิพพาน อันกิจใดที่พระอริยเจ้าได้บรรลุแล้ว (กิจอันควรระงับได้กระทำแล้ว) กุลบุตรนั้นพึงเจริญบำเพ็ญพระไตรสิกขาบท พึงเป็นผู้อาจหาญ เป็นผู้ซื่อตรง เป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย อ่อนโยน ไม่มีอติมานะ (ไม่เย่อหยิ่ง)

๒. สันตุสสะโก จะ สุภะโล จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ
เป็นผู้มีความสันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจธุระน้อย ประพฤติเบากายและจิต (เป็นผู้มีจิตใจอันไม่เร้าร้อน) มีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาอันเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คึกคะนองตน (อย่างลองคะนองตน) ไม่พัวพัน (ประจบประแจง) ในสกุลทั้งหลาย (ชาวบ้าน)

๓.​ นะจะขุตถัง สะมาจะเลกิญจิ เยนะวิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง สุขิโนวา เขมิโนโหนตุ สัพเพสัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไรใดๆ เลย ซึ่งเป็นเหตุให้วิญญูชนท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตือนได้ พึงเจริญเมตตาในสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด

๔.​ เยเกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสาวา ถาวะราวา อะนะวะเสสา ทีฆาวาเย มะหันตะวา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา
สัตว์มีชีวิตเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่ ยังเป็นผู้สะดุ้ง หรือเป็นผู้มั่นคงทั้งปวง ไม่มียกเว้น เหล่าใดมีกายเล็ก ยาวหรือใหญ่ ผอมหรือพี ปานกลาง สูงหรือสั้น

๕. ทิฏฐาวาเย จะ อะทิฏฐา เยจะทูเร วะสันติ อะวิทูเร ภูตาวา สัมภะเวสีวา สัพเพสัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
เหล่าใดที่เราเห็นแล้วหรือมิได้เห็นก็ดี เหล่าใดที่อยู่ไกลหรือที่ใกล้ก็ดี ที่เกิดแล้วหรือที่กำลังแสวงหาภพอยู่ก็ดี ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น จงเป็นผู้ถึงสุขเถิด

๖. นะปะโรปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจินังกิญจิ พะยาโรสะนา ปะฏีคะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ
สัตว์อื่นไม่ควรพึ่งข่มเหงสัตว์อื่น ไม่ควรพึงดูมิ่นดูแคลนใครๆ ที่ไหนใดๆ เลย ไม่พึงปราถนาทุกข์แก่กันและกันเพราะความกริ้วโกรธ เพราะความคับเคียดแค้นใจ ในที่ไหนๆ ใดๆ เลย

๗. มาตายะถา นิยังปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
มารดาถนอมบุตรคนเดียวผู้เกิดในตน แม้ด้วยการยอมเสียสละชีวิตเพื่อลูกได้ฉันนั้นเพียงใด กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ พึงเจริญเมตตาจิตมีในใจ ไม่มีประมาณ ในสัตว์ทั้งปวง แม้ฉันนั้น

๘. เมตตัญจะ สัพพะโลกัสสะมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง อุทธังอะโธจะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง
ก็กุลบุตรนั้น พึงเจริญเมตตาจิตมีในใจ ไม่มีประมาณ ไปในโลกทั้งสิ้น ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ เบื้องกลาง เบื้องขวาง ตามควบคลุมตลอดอันไม่มีประมาณ จงเป็นผู้มีจิตใจไม่คับแคบ ไม่มีเวร ไม่จองเวรพยาบาท ไม่มีศัตรูกับใครในที่ไหนๆ

๙. ติฏฐัญจะรัง นิสินโนวา สะยาโนวา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ เอตังสะติง อะธิฏเฐยยะ พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ
กุลบุตรผู้เจริญเมตตาจิตนั้น ยืนอยู่ก็ดี เดินอยู่ก็ดี นั่งอยู่ก็ดี นอนอยู่ก็ดี พึงเป็นผู้ปราศจากความง่วงเหงาหาวนอนเพียงใด ก็พึงตั้งสตินี้ไว้เพียงนั้น บัณฑิตทั้งหลายกล่าววิหารธรรม (อิริยาบทเหล่านี้) อันนี้ว่าเป็นพรหมวิหารธรรมในพระศาสนานี้

๑๐. ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะหิชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ
กุลบุตรนั้นจะไม่กล้ำกรายความเห็นผิด( เป็นผู้ไม่เข้าไปอาศัยทิฏฐิ) เป็นผู้บริบูรณ์มีความถึงพร้อมด้วยศิล ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ (วิชชาและจะระณะ) กำจัดความยินดีในกามทั้งหลายทั้งปวงออกได้แล้ว ย่อมไม่ถึงความเกิดในครรภ์อีกโดยแน่แท้ ฯUpdated: 08/04/2019 11:51-54-55-56:22-41-45-51-54-55-56-57-58-59., 08/04/2019 13-14:22:22-41-45-51-54-55-56-57-58-59.

13.1. Karaniyamatthakusalena – Verses of Universal Love

1. Karaniyamatthakusalena, Yamtam santam padam abhisamecca. Sakko uju ca suhuju ca, Suvaco cassa mudu natimani

Whoever seeks to promote his own well-being, having already glimpsed the state of perfect peace of emancipation, the reality of fact of being set completely free from desire as attaining Nibbana/Nippana/Nirvana, the Highest State of Soul/Mind/Spirit, to which the all the Enlightened One, who have attained, which known as the Ariya or Arahanta State of Souls/Minds/Spirits. Of which, one should unstintingly practising in pursuit of the Threefold Training; Morality based on the Sila (the Five Precepts, the Eight Precepts, the Ten Precepts, the 227 Precepts for Monk and the 311 Precepts for Nun); Concentration and Wisdom, one should be brave/courageous, being truly honest and upright conduct in all actions, including one should always speak the truth, behave politely, easy going, humble, but not boastful.

2. Santussako ca subharo ca, Appakicca ca sallahukavutti, Santidriyo ca nipako ca, Appagabbho kulesu ananugiddho

He should be contented, easy to support, not over-busy, and be simple in living, tranquil his senses; let him be prudent, not brazen, nor fawning on families.

3. Na ca khuddam samacarekinci, Yena viñu pare upavadeyyum, Sukhino va khemino hontu, Sabbe satta bhavantu sukhitatta

He should refrain from any action that gives the wiser reason to reprove; may all be in good health and secure; may all beings be happy.

4. Ye keci panabhutatthi, Tasa va thavara va anavasesa, Digha va ye mahanta va Majjima rassaka anukathula

Whatever living beings there be, without exception, weak or strong, small or huge, middle-sized, short or tall, slim or bulky.

5. Dittha va ye ca adittha, Ye ca dure vasanti avidure, Bhuta va sambhavesi va, Sabbe satta bhavantu sukhitatta

Whoever is visible or invisible, those living far or near, those already born and those seeking birth; may all beings be happy.

6. Na paro param nikubbetha. Natimañetha katthacinam kinci, Bayarosana patighasaña, Nañamañassa dukkhamiccheyya

Let no-one deceive nor decry his fellows anywhere; let no-one wish another harm in any place, or in hate.

7. Mata yatha niyam puttam, Aayusa ekaputtamanurakkhe, Evampi sabbabhutesu, Manasambhavaye aparimanam

Just as with her own life a mother protects her child; so let him have a mind of boundless love for all beings.

8. Mettanca sabbalokassamim, Manasambhavaye aparimanam, Uddham adho ca tiriyanca, Asambadham averam asapattam

Let him cultivate a mind of boundless love for all, throughout the universe in all its height, depth and breadth; love that is unrestricted and beyond hatred or enmity.

9. Titthancaram nisinno va, Sayano va yavatassa vigatamiddho, Etam satim adhittheyya, Brahmametam viharam idhamahu

Whether he stands, walks, sits or lies down, as long as he is awake let him maintain his love of awareness, deemed here a Divine State.

10. Ditthinca anupagamma silava, Dassanena sampanno, Kamesu vineyyagedham, Na hi jatu gabbhaseyyam punareti'ti

Holding no wrong views, virtuous and with vision of the Ultimate; having overcome all sensual desire, never in a womb is he born again.

(The English text is for reference only - you should recite the Pali text)

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

14. เมตตาสูตร

เพื่อความต่อเนื่อง ลิ้งค์ (link) ทั้งหมดในวรรคนี้ คือ เป็นพระสูตรเดียวกันทั้งหมด แต่ลิ้งค์ที่ ๒ ได้มีการอธิบายรายละเอียดตามเจตนารมณ์ที่ได้จัดทำขึ้นไว้เป็นกรณีพิเศษไว้ท้ายสุดของพระสูตร ยุคนัทธวรรค เมตตากถา-สาวัตถีนิทาน / ยุคนัทธวรรค เมตตากถา-สาวัตถีนิทาน ๒ / ยุคนัทธวรรค เมตตากถา-สาวัตถีนิทาน 3 / เมตตาพรหมวิหาระภาวนา (มหาเมตตาใหญ่) / รัตนสูตร ในขุททกปาฐะ-พระปริตร Updated: 06/06/2018 15:05:45.

เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะบิณฑิกัสสะ อาราเมฯ ตัตระโข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุงฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะ

ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่อ ณ พระเชตวันวิหาร อารามที่อนาถบิณฑิกเศรษฐีสร้างถวายใกล้กรุงสาวัตถี ในครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสแก่ภิกษุทั้งหลายว่า "ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" พระภิกษุเหล่านั้นจึงทูลขาลรับ "พระเจ้าข้า" พระองค์ได้ตรัสดังนี้ว่า

เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะฯ

"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลบำเพ็ญแล้ว ภาวนาแล้ว เจริญให้มากแล้ว ทำให้เป็นเครื่องดำเนินใจ ทำให้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจ อบรมสร้างสมปรารภด้วยดีแล้ว อานิสงส์ ๑๑ ประการ อันบุคคลนั้นพึงหวังได้แน่นอน อานิสงส์ ๑๑ ประการ เป็นใฉน?"

สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติฯ นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติฯ มะนุสสานัง ปิโย โหติฯ อะมะนุสสานัง ปิโย โหติฯ เทวะตา รักขันติฯ นาสสะ อัคคิวา วิสังวา สัตถังวา กะมะติฯ ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติฯ มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติฯ อะสัมมุฬโห กาลังกะโรติฯ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติฯ

หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้ายหนึ่ง เป็นที่รักของมนุษย์ เป็นที่รักของอมนุษย์ เทวดาปกปักษ์รักษา ไฟ พิษ ศาสตราไม่กล้ำกราย จิตตั้งมั่นได้เร็ว สีหน้าย่อมผ่องใส ไม่หลงตาย หากไม่บรรลุธรรมขั้นสูงย่อมไปเกิดในพรหมโลก

เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเมเอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาติฯ

"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลบำเพ็ญแล้ว ภาวนาแล้ว เจริญไว้มากแล้ว ทำให้เป็นเครื่องดำเนินทางใจ ทำให้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจ อบรมสร้างสมปราถนาด้วยดีแล้ว อานิสงส์ ๑๑ ประการนี้ อันบุคคลพึงหวังได้แน่นอน"

อิทะมะโวจะ ภะคะวาฯ อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุนติฯ

พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้อย่างนี้ ภิกษุเหล่านั้นต่างมีใจยินดี เพลิดเพลินกับภาษิตของพระองค์

14.1. Mettanisamsa Sutta – Blessings of Universal Love

Evam me sutam. Ekam Samayam Bhagava savatthiyam viharati jetavane anathapindikassa arame. Tatra kho Bhagava bhikkhu amantesi, Bhikkhavo'ti Bhadante'ti te bhikkhu Bhagavato paccassosum. Bhagava etadavoca

Thus I have heard: Once the Blessed One was staying at Anathapindika's monastery in Jeta's Grove near Savatthi. There He addressed the monks saying, 'Monks!'. The monks replied, 'Most Venerable Sir'. The Blessed One then spoke.

Mettaya bhikkhave, cetovimuttiya asevitaya, bhavitaya, bahulikataya yanikataya, vatthukataya, anutthitaya, paricitaya susamaraddhaya ekadasanisamsa patikankha, katame ekadasa?

'Monks! Universal love brings about freedom of the mind and when it is strictly practised and mastered it becomes the basic philosophy of one's life; the eleven blessings are then attainable. What eleven?'

Sukkham supati, sukkham patibujjhati, na papakam supinam passati, manussanam piyo hoti, amanussanam piyo hoti, devata rakkhanti, nassa aggi va visam va sattham va kamati, tuvatam cittam samadhaiyati, mukhavanno vippasidati, asammulho kalam karoti, uttarim appati vijjhanto Brahmalokupago hoti

'The Eleven Blessings are: one sleeps happily; one wakes happily; one has auspicious dreams during sleep; one is dear to human beings; one is dear to non-human beings; the Dheva and Brahma (Gods) will protect him; no fire, poison or weapon will harm him; his mind is quickly concentrated; his features are bright; he dies in peace and in a perfect state of mind; if he fails to progress from the Ariya states of mind/spirit/หากไม่บรรลุธรรมขั้นสูง/Bra Anakhamibala onwards to the Arahanta state of mind/spirit or Nirvana/Nibbana in his life, he will achieve the state of the Brahmaloka (rebirth in the celestial and heavenly plane of Brahma, for instance as the Inthaka Brahma at the level of the Davadingsa realm/ดาวดึงส์ - แดนแห่งเทพ 33 มีทำ้วสักกะเป็นใหญ่ (the third realm of the heavenly plane and/or one of the planes of the Brahama gods) known as the realm of the Thirty-three Gods).' Citta Sutta & Atthakata-3 Updated: 14/04/2017 13:57:45.

Mettaya bhikkhave. cetovimuttiya asevitaya, bhavitaya, bahulikataya, yanikataya, vatthukataya, anutthitaya, paricitaya susamaraddhaya ime ekadasanisamsa patikankhati

'Monks! Universal love brings about freedom of the mind and when it is strictly practised and mastered it becomes the basic philosophy of one's life; the eleven blessings are then attainable.'

Idamavoca Bhagava. Attamana te bhikkhu Bhagavato bhasitam abhinandun'ti.

Thus the Blessed One spoke. Inspired, the monks rejoiced at His teachings.

(The English text is for reference only - you should recite the Pali text)

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

15. พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง) – ชัยมงคลคาถา

๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโคระสะเสเนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิฯ
สมเด็จผู้จอมมุนีทรงมีชัยชนะด้วยการพิชิตพญามารขี่คชสารชื่อครีเมขระ พร้อมด้วยเสนามารที่โห่ร้องก้องกึกเหล่านั้นที่เข้าผจญ ด้วยธรรมวิธี คือทรงระลึกถึงพระบารมีทั้ง ๑๐ ประการ ที่ทรงบำเพ็ญแล้ว มีทานบารมี เป็นต้น ด้วยเดชแห่งองค์พระศากยมุนีผู้ทรงพิชิตมารนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ปธานสูตรที่ ๒ / สัตตวัสสสูตรที่ ๔

๒. มาราติเรกะมะติยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
สมเด็จผู้จอมมุนีทรงมีชัยชนะด้วยการพิชิตอาฬวกยักษ์ ผู้มีจิตกระด้าง ดุร้ายเหี้ยมโหด ผู้เข้ามาต่อสู้ยิ่งนักตลอดรุ่ง มีฤทธิ์ยิ่งกว่าพญามาร ด้วยวิธีที่ทรงฝึกฝนเป็นอันดี ด้วยขันติบารมี ด้วยเดชแห่งองค์พระศากยมุนีผู้ทรงพิชิตอาฬวกยักษ์นั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น อาฬวกสูตรที่ ๑๒

๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคานิฯ
สมเด็จผู้จอมมุนีทรงมีชัยชนะด้วยการพิชิตพญาช้างตัวประเสริฐชื่อนาฬาคิรีที่จู่โจมเข้ามาผจญ ซึ่งกำลังตกมัน เป็นช้างเมามันดุร้ายยิ่งนักประดุจไฟป่าและร้ายแรงดั่งจักราวุธสายฟ้าขององค์อินทร์ ด้วยวิธีรดด้วยน้ำคือพระเมตตา ด้วยเดชแห่งองค์พระศากยมุนีผู้ทรงพิชิตช้างนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ปล่อยช้างนาฬาคิรี

๔. อุกขิตตะขัคขะมะหิหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลีมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวามุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
สมเด็จผู้จอมมุนีทรงมีชัยชนะด้วยการพิชิตโจรองคุลุมาลผู้ดุร้ายยิ่งนัก ที่ถือดาบเงื้อมง่าวิ่งไล่หมายปลงพระชนชีพพระองค์ไปสิ้นทาง ๓ โยชน์ ด้วยทรงบันดาลอิทธิฤทธิ์ทางใจอันยอดเยี่ยม ด้วยเดชแห่งองค์พระศากยมุนีผู้ทรงพิชิตจอมโจรนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ๖. อังคุลิมาลสูตร พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดองคุลิมาลโจร

๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะคัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
สมเด็จผู้จอมมุนีทรงมีชัยชนะด้วยการพิชิตนางจิญจมาณวิกาที่เข้าผจญ ผู้ซึ่งผูกไม้ไว้ที่ท้อง ผู้แสร้งทำอาการประดุจว่ามีครรภ์ ยืนด่าว่าด้วยความกล่าวตู่ใส่ร้ายพระพุทธองค์ ท่ามกลางหน้าธารกำนันในที่ประชุมชน ด้วยวิธีทรงสงบพระหฤทัยเป็นสง่าเฉยอยู่ ดุจจันทร์เพ็ญ ด้วยเดชแห่งองค์พระศากยมุนีผู้ทรงพิชิตนางจิญจมาณวิกานั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ๙. เรื่องนางจิญจมาณวิกา [๑๔๕]

๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
สมเด็จผู้จอมมุนีทรงมีชัยชนะด้วยการพิชิตสัจจกนิครนถ์ผู้เข้ามาผจญ มุ่งหมายจะโต้วาทะกับพระพุทธองค์ เป็นผู้มีอัชฌาสัยคมคายยิ่งนักในที่จะเสียสละซึ่งความสัตย์ ด้วยเชิดชูลัทธิและถ้อยคำของตนให้สูงล้ำดุจยกธง เป็นผู้มืดมนยิ่งนัก ด้วยเทศนาญานวิธี คือ รู้อัชฌาสัยแล้วตรัสเทศนา ให้มองเห็นความเป็นจริง ด้วยเดชแห่งองค์พระศากยมุนีผู้ทรงพิชิตนิครนถ์นั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ด้วยเหตุพระพุทธชัยมงคลนั้น ๕. จูฬสัจจกสูตร เรื่องสัจจกนิครนถ์สนทนากับพระอัสสชิเถระ / ๖. มหาสัจจกสูตร สัจจกนิครนถ์ทูลถามปัญหา

๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุทังมะหิทธิง ปุตเตนะ เถระพุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
สมเด็จผู้จอมมุนีทรงมีชัยชนะด้วยการพิชิตพญานาคราชชื่อนันโทปนันทะผู้มีฤทธิ์มากที่เข้ามาผจญ ซึ่งเป็นผู้ถูกครอบงำด้วยความหลงผิดคิดว่าตนเป็นผู้มีฤทธิ์เหนือกว่าใครๆ บังอาจสำแดงฤทธิ์แผ่พังพานกางกั้นฉนวนอากาศ ปิดทางพระพุทธโคจร ทรงโปรดให้พระมหาโมคคัลลานะเถระ พุทธชิโนรส เนรมิตกายเป็นนาคราชไปทรมารพญานาคราชด้วยฤมธิ์ที่เหนือกว่า ด้วยเดชแห่งองค์พระศากยมุนีผู้ทรงพิชิตพญานาคราชนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ด้วยเหตุพระพุทธชัยมงคลนั้น การทรมานนันโทปนันทนาคราช.

๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
สมเด็จผู้จอมมุนีทรงมีชัยชนะด้วยการพิชิตพกาพรหม ผู้มีฤทธิ์สำคัญตนว่าเป็นผู้มีความรุ่งเรืองด้วยคุณอันบริสุทธิ์ และมีฤทธิ์อำนาจมากกว่าใครๆ เกิดความเห็นผิดคิดว่าชีวิตพรหมเป็นอมตะ ประดุจถูกงูรัดข้อมือไว้อย่างแน่นแฟ้นแล้ว ด้วยวิธีวางยาอันพิเศษนั้น คือ ด้วยเทศนาญานวิธี ด้วยเดชแห่งองค์ศากยมุนีผู้ทรงพิชิตพกาพรหมนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ด้วยเหตุพระพุทธชัยมงคลนั้น ๙. พรหมนิมันตนิกสูตร ว่าด้วยพกพรหมมีทิฏฐิอันลามก

๙. เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ
นรชนใดผู้มีปัญญา ไม่เกลียดคร้าน สวดก็ดี ระลึกถึงก็ดี ซึ่งพระพุทธชัยมงคลคาถาทั้ง ๘ บทนี้ทุกๆ วัน นรชนนั้นจะพึงละเสียได้ซึ่งอุปัทวันตรายทั้งหลาย มีประการต่างๆ เป็นเอนก และถึงซึ่งวิโมกข์ (คือความหลุดพ้น) อันเป็นบรมสุขแล

(ถ้าสวดภาวนาผู้เดียวให้ลงท้ายด้วย เม. แปลว่า "ข้าพเจ้าผู้กำลังทำการสวดสาธยาย" แทนที่ เต. ซึ่งแปลว่า บุคคลอื่น หรือ ถ้าทำการสวดสาธยายพระคาถาศักสิทธิ์บทนั้นๆ ฯ เป็นกลุ่มบุคคลที่มีตั้งแต่ ๔ คน ขึ้นไป ให้ลงท้ายด้วย เต.) Updated: 26/07/2018 10:39:45., 26/07/2018 10:41:55.

15.1. Jayamangala Gatha (Bahum Mahagha) – Stanzas of Victory

1. Bahum sahassamabhinimmitasavudhantam, Grimekhalam uditaghorasasenamaram. Danadidhammavidhina jitava Munindo, Tamtejasa bhavatu te jayamangalani

The Victorious One summoned the perfect merit of his previous deeds - charity being one of the ten perfect deeds – to conquer Mara. As with this victory, may you too be triumphant.

2. Maratirekamabhiyujjhitasabbarattim, Ghorampanalavakamakkhamathaddayakkham Khantisudantavidhina jitava Munindo, Tamtejasa bhavatu te jayamangalani

Even more fiendish than Mara was Alavaka, the impetuous and haughty yakkha who fought a night-long battle with the Blessed One. The Victorious One summoned his unequaled and highly practiced patience to conquer Alavaka. As with this victory, may you too be triumphant.

3. Nalagirim gajavaram atimattabhutam, Davaggicakkamasaniva sudarunantam Mettambusekavidhina jitava Munindo, Tamtejasa bhavatu te jayamangalani

Provoked to run amok, Nalagiri the king tusker, like a raging forest fire murderously assailed all in his path and struck such horror in them as would a thunder bolt, the irresistible destroyer. The Victorious One tamed him by sprinkling over him the cooling water of all-embracing love. As with this victory, may you too be triumphant.

4. Ukkhittakhaggamatihatthasudarunantam Dhavantiyojanapathangulimalavantam, Iddhibhisankhatamano jitava Munindo, Tamtejasa bhavatu te jayamangalani

With sword upraised in expert hands did the savage robber, Angulimala, persue the Blessed One for a full three leagues. The Victorious One conquered him by his supernatural powers. As with this victory, may you too be triumphant.

5. Katvana katthamudaram iva gabbhiniya, Cincaya dutthavacanam janakayamajjhe, Santena somavidhina jitava Munindo, Tamtejasa bhavatu te jayamangalani

Posing as a pregnant woman by tying a piece of wood to her belly, Cinca falsely accused the Buddha with lewd words in the midst of a devout congregation. The Victorious One subdued her through his imperturbable serenity. As with this victory, may you too be triumphant.

6. Saccam vihaya matisaccakavadaketum, Vadabhiropitamanam atiandhabhutam Pannapadipajalito jitava Munindo, Tamtejasa bhavatu te jayamangalani

With his perverted intelligence, Saccaka the wandering mendicant invariably distorted the truth. Pretending to be the very banner of learning he only blinded his own mental vision as he went about indulging in intellectual disputations. The Victorious One conquered him with his illuminating lamp of wisdom. As with this victory, may you too be triumphant.

7. Nandopanandabhujagam vibudham mahiddhim Puttena therabhujagena damapayanto Iddhupadesavidhina jitava Munindo, Tamtejasa bhavatu te jayamangalani

The gifted but perverted King of the Nagas, Nandopananda, possessed great psychic power which he used to challenge the Blessed One. By instructing Moggallana, his spiritual son who possessed greater supernatural powers, the Victorious One rendered Nandopananda powerless and transformed him. As with this victory, may you too be triumphant.

8. Dugghahaditthi bhujagena sudatthahattham Brahmam visuddhijutimiddhibakabhidhanam. Nanagadena vidhina jitava Munindo, Tamtejasa bhavatu te jayamangalani

Though a deity of great purity, radiance and power, Baka the Brahma god was nevertheless in the grip of pernicious views, like an arm tightly held by a snake's coils, and he thought that Brahmas were immortal. The Victorious One cured him by means of wisdom. As with this victory, may you too be triumphant.

9. Etapi Buddhajayamangala atthagatha, Yo vacano dinadine sarate matandi, Hitavananekavividhani cupaddavani, Mokkham sukham adhigameyya naro sapanno

He who, day after day without lethargy, recites and recollects these eight verses of the Victorious One's glorious triumphs, that wise man, having overcome many and diverse obstacles shall attain the bliss of Deliverance.

(If saying on your own, replace 'te' with 'me' )

(The English text is for reference only - you should recite the Pali text)

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

16. มหาชัยมงคลคาถา (มหาการุณิโก) – มหาชัยมงคล

๑. มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตตะวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ (เม) เต ชะยะมังคะลังฯ
พระผู้ทรงเป็นที่พึ่งแห่งปวงสัตว์ ประกอบแล้วด้วยมหากรุณา ยังบารมีทั้งปวงทั้งหลายให้เต็ม เพื่อประโยชน์แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ถึงแล้วซึ่งความบรรลุสัมโพธิญาณ (ตรัสรู้) อันอุดม ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอชัยมงคลนี้จงมีแก่ (ข้าพเจ้า) ท่านทุกเมื่อ

๒. ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
พระจอมมุนีทรงชนะมาร ณ โคนโพธิพฤกษ์ ถึงความเป็นผู้เลิศแล้วในสรรพพุทธาภิเษก ทรงปราโมทย์อยู่บนอปราชิตบัลลังก์อันสูง เป็นจอมมหาปฐพี ท่ามกลางเทพยดาทั้งหลายให้เจริญความยินดีแก่เหล่าประยูรญาติศากยวงค์ ฉันใด ขอ (ข้าพเจ้า) ท่านมีชัยชนะ ฉันนั้นเทอญ

๓. สุนนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโน สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี (เม) เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ
สัตว์ทั้งหลายประพฤติชอบในเวลาใด เวลานั้นชื่อว่าฤกษ์ดี มงคลดี สว่างดี รุ่งดี และขณะดี ครู่ดี บูชาดีแล้วในพรหมจารี บุคคลทั้งหลาย กายกรรมเป็นประทักษิณ วจีกรรมเป็นประทักษิณ มโนกรรมเป็นประทักษิณ ความปราถนาของท่านเป็นประทักษิณ สัตว์ทั้งหลายกระทำกรรมอันป็นประทักษิณแล้ว ย่อมได้ประโยชน์ทั้งหลายอันเป็นประทักษิณ (ประทักษิณ หมายถึง การกระทำความดีอันเป็นกุศล (ด้วยความเคารพ) )

๔. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ (เม) เต
ขอสรรพมงคลจงมีแก่ (ข้าพเจ้า) ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษา (ข้าพเจ้า) ท่าน ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ (ข้าพเจ้า) ท่านทุกเมื่อ

๕. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ (เม) เต
ขอสรรพมงคลจงมีแก่ (ข้าพเจ้า) ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษา (ข้าพเจ้า) ท่าน ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ (ข้าพเจ้า) ท่านทุกเมื่อ

๖. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตาสัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ (เม) เต
ขอสรรพมงคลจงมีแก่ (ข้าพเจ้า) ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษา (ข้าพเจ้า) ท่าน ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ (ข้าพเจ้า) ท่านทุกเมื่อ

(ถ้าสวดภาวนาผู้เดียวให้ลงท้ายว่า เม. แทนที่ เต.)

16.1. Maha Jayamangala Gatha – Stanzas of the Great Victory

1. Mahagaruniko natho hitaya sabbabpaninam Puretava parami sabbapatto sambodhimuttamam Etena saccavajjena hotu te jayamangalam

The exalted and Compassionate Deliverer, for the welfare of all, fulfilled the Perfections and attained the Summit state of Supreme Enlightenment. As with this avowal of truth, may triumph and well-being be yours.

2. Jayanto bodhiya mule sakyanam nandivaddhano Evam vijayo hohi Jayassu jayamangale aparajitapallanke sise pathavipokkhare abhiseke sabbabuddhanam aggappatto pamodati

Victorious under the Bodhi Tree, being blissful among the Devas and Brahmas who praised Him and the Sakyans for his conquest of Mara at His Undefeated Seat, being the mightiest on earth. Even so, may your victory be blessed with triumph and well-being.

3. Sunakkhattam Sumangalam Supabbhatam suhutthitam Sukhano sumuhutto ca suyittham brahmacarisu padakkhinam kayakammam vacakammam padakkhinam padakkhinam manokammam panidhite padakkhina padakkhinani Katvana labhantatdhe padakkhine

The time when people perform a good deed is indeed an auspicious occasion, a bright dawn, a moment well-caught in time and is the right worship of holy people. At that time their actions of body, speech and mind, along with their aspiration become auspicious. Having performed auspicious deeds, they beget auspicious benefits.

4. Bhavatu sabbamangalam, Rakkhantu sabbadevata, Sabbabuddhanubhavena, sada sotthi bhavantu (me) te

May all blessings come to (me) you. May all devas protect (me) you. By the grace of all Enlightened Ones, may well-being forever abound in (me) you.

5. Bhavatu sabbamangalam, rakkhantu sabbadevata, Sabbadhammanubhavena, sada sotthi bhavantu (me) te

May all blessings come to (me) you. May all devas protect (me) you. By the grace of the Sacred Teachings, may well-being forever abound in (me) you.

6. Bhavatu sabbamangalam, rakkhantu sabbadevata, Sabbasanghanubhavena, sada sotthi bhavantu (me) te

May all blessings come to (me) you. May all devas protect (me) you. By the grace of the Holy Order, may well-being forever abound in (me) you.

(If saying on your own, replace 'te' with 'me' )

(The English text is for reference only - you should recite the Pali text)

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

17. ชินะปัญชะระคาถา – พระคาถาชินบัญชร - อานิสงส์และอานุภาพของพระคาถาชินบัญชร "พระคาถาชินบัญชรนี้" ให้เริ่มต้นสวดภาวนาตรงกับวัน "วันพฤหัสบดี" ฯ

๑. ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา
พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงชนะมารและเหล่าเสนา ทรงเป็นผู้องอาจหาญกล้า ทรงเป็นผู้ประเสริฐแห่งนรชน ทรงดื่มอมตรสแห่งอริยสัจ ๔ ประการแล้ว ฯ

๒. ตันหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะตินายะกา สัพเพ ปติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา
พระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์ มีพระตัณหังกรเป็นอาทิ ทรงเป็นผู้นำโลก พระจอมมุนีทุกพระองค์นั้น ขอ "พระบารมี ๓๐ ทัศ" ทรงพระเมตตาโปรดแผ่พระรัศมีครอบเปรียบประดุจจุลเจิมบนกระหม่อมของข้าพเจ้า ฯ

๓. สีเส ปะติฏฐิตา มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร
ขอ "พระบารมี ๓๐ ทัศ ฯ" แด่ พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงพระเมตตาโปรดแผ่พระรัศมีครอบบนศรีษะของข้าพเจ้า พระธรรมโปรดแผ่พระรัศมีครอบเปรียบประดุจจุลเจิมที่ดวงตา พระสงฆ์ผู้เป็นบ่อเกิดแห่งคุณโปรดแผ่พระรัศมีครอบเปรียบเป็นประดุจจุลเจิมที่อกของข้าพเจ้า ฯ

๔.​ หะทะยา เมอะนะรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลาโน จะ วามะเก
ขอ "พระบารมี ๓๐ ทัศ ฯ" พระอนุรุทธเถรเจ้าทรงพระเมตตาโปรดแผ่พระรัศมีครอบ ณ เบื้องขวา พระโกณฑัญญะโปรดแผ่พระรัศมีครอบ ณ เบื้องหลัง พระโมคคัลลานะโปรดแผ่พระรัศมีครอบ ณ เบื้องซ้าย ฯ

๕. ทักขิเน สะวะเน มัยหัง อานันทะราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก
ขอ "พระบารมี ๓๐ ทัศ ฯ" ของพระอานนท์และพระราหุลล์ทรงพระเมตตาโปรดแผ่พระรัศมีครอบเปรียบประดุจจุลเจิม ณ หูเบื้องขวาของข้าพเจ้า พระกัสสปะและพระมหานามะโปรดประทับ ณ หูเบื้องซ้าย ฯ

๖. เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
ขอ "พระบารมี ๓๐ ทัศ ฯ" พระโสภิตมุนีผู้แกล้วกล้า ถึงพร้อมด้วยสิริ ดุจดวงอาทิตย์ที่ส่องแสงสว่าง ทรงพระเมตตาโปรดแผ่พระรัศมีครอบ ณ ที่สุดแห่งผมเบื้องหลัง ฯ

๗. กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร
พระกุมารกัสสปะเถระผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ ผู้มีวาทะอันวิจิตร ผู้เป็นบ่อเกิดแห่งคุณ พระโสภิตมุนีผู้แกล้วกล้า ถึงพร้อมด้วยสิริ ดุจดวงอาทิตย์ที่ส่องแสงสว่าง ขอ "พระบารมี ๓๐ ทัศ" ของแต่ละพระองค์ ฯ ทรงพระเมตตาโปรดแผ่พระรัศมีครอบเปรียบประดุจจุลเจิมที่ริมฝีปากของข้าพเจ้าเป็นเนืองนิตย์ ฯ

๘. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะสาวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ
พระปุณณะ พระองคิมาล พระอุบาลี พระนันทะ พระสีวลี พระเถระห้าพระองค์เหล่านี้ ขอ "พระบารมี ๓๐ ทัศ ฯ" ของแต่ละพระองค์ ฯ ทรงพระเมตตาโปรดแผ่พระรัศมีครอบเปรียบประดุจจุลเจิมสถิตที่หน้าผากของข้าพเจ้า ฯ

๙. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา
พระอสีติมหาสาวกทั้ง ๘๐ พระองค์ ที่เหลือจากนี้ ผู้เป็นสาวกแห่งพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ ผู้ทรงมีชัยชนะอันไม่มีประมาณ ฯ และพระอสีติมหาสาวกทั้ง ๘๐ พระองค์เหล่านี้ ฯ เป็นผู้มีชัยชนะต่อข้าศึก คือ กิเลส ทรงเป็นพระโอรส แด่พระพุทธชินะเจ้าพระองค์นั้น ฯ คือ พระผู้ทรงรุ่งโรจน์อยู่ด้วยเดชแห่งศีล ขอ "พระบารมี ๓๐ ทัศ" ของพระอรหันตเจ้าแต่ละพระองค์นั้น ฯ ทรงพระเมตตาโปรดแผ่พระรัศมีครอบทั่วทั้ง เบญจขันธ์ คือ ธาติ ๔ และ ขันธ์ ๕ ของข้าพเจ้า ฯ

๑๐. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
พระรัตนสูตรทรงแผ่พระรัศมีครอบ ณ เบื้องหน้าของข้าพเจ้า พระเมตตาสูตรทรงแผ่พระรัศมีครอบ ณ เบื้องขวา พระธชัคคสูตรทรงโปรดแผ่พระรัศมีครอบ ณ เบื้องหลัง พระคุลิมาลสูตรทรงโปรดแผ่พระรัศมีครอบ ณ เบื้องซ้าย ฯ

๑๑. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตรทรงแผ่พระรัศมีเปรียบประดุจฟ้าครอบ พระสูตรปริตรทั้งหลายที่เหลือทรงแผ่พระรัศมีเปรียบประดุจปราการกั้น ฯ

๑๒. ชินาณาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา
พระธรรมทั้งหลายประกอบด้วยสีลาธิคุณอันประเสริฐ ด้วยเดชอำนาจแห่ง "พระบารมี ๓๐ ทัศ ฯ" แด่พระชินะเจ้าพระองค์นั้น ฯ โปรดทรงแผ่พระรัศมีเปรียบประดุจประดับเป็นอลังการดุจกำแพง ๗ ชั้น ป้องกันอุปัทวะทั้งภายนอกภายในทั้งหลายอันเกิดจากลมและน้ำดีเป็นต้น ฯ จนถึงความสิ้นไปไม่มีเหลือ ฯ

๑๓. อะเสสา วินิยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร
โรคที่เหลือทั้งหลายจงได้รับการจำกัดไปอย่างมิได้ว่างเว้นตลอดเวลา ด้วยเดชแห่งพระรัศมี "พระบารมี ๓๐ ทัศ ฯ" แด่พระชินเจ้าพระองค์นั้น ฯ ทรงพระเมตตาโปรดด้วยการแผ่พระรัศมีแห่งคุณ ฯ ครอบทั่วทั้ง เบญจขันธ์ ฯ ของข้าพเจ้า ฯ ที่ยังมีกิจแห่งคุณ ที่มีศีลเป็นต้น ฯ แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ

๑๔. ชินะปัญชะระมัชฌิมหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสา สะภา
ขอพระมหาบุรุษผู้หาญเลิศทั้งหลายเหล่านั้น ทรงโปรดอภิบาลข้าพเจ้า ฯ ผู้สถิตในท่ามกลางแห่ง พระรัศมี "พระบารมี ๓๐ ทัศ ฯ" แด่พระชินบัญชรบนผืนแผ่นดิน ฯ

๑๕. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเรติฯ.
ข้าพเจ้ามีการคุ้มครองรักษาดีแล้ว เป็นผู้มีอุบัติเหตุเภทภัยอันพระรัศมีแห่ง "พระบารมี ๓๐ ทัศ" แด่พระชินะเจ้าพระองค์นั้น ฯ กำจัดแล้วด้วยประการฉะนี้ ขอจงชนะอุปัทวะด้วยเดชพระอานุภาพแห่งพระรัศมี "พระบารมี ๓๐ ทัศ ฯ" แด่ พระชินะเจ้าพระองค์นั้น ฯ พระผู้ทรงมีชัยชนะต่อข้าศึก คือ กิเลส อันไม่มีประมาณฯ ด้วยเดชอานุภาพแห่งพระธรรม ทรงมีชัยชนะอันตรายทั้งปวงอันไม่มีประมาณ ฯ และด้วยเดชอานุภาพแห่งพระสงฆ์ อันเกิดจากอานุภาพแห่งพระสัทธรรมอภิบาล แด่ "พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ" ขอชนทั้งหลายจงประพฤติตามอยู่ภายในกรอบพระสัทธรรม ฯ แห่ง "พระชินะบัญชรพุทธเจ้าพระองค์นั้นเทอญ ฯ" Updated: 13/04/2017 13:12:45., 13/04/2017 16:19:45.

17.1. Jinapanjara Gatha – The Window of the Victorious One

1. Jayasanagata Buddha jetava maram savahanam, Catusaccasabaham rasam ye pivimsu narasabha

Those Buddhas who defeated the Mara and his hosts were the most brave, sublime, noble and mighty men who had sipped the immortal taste of the Four Noble Truths.

2. Tanhankaradayo Buddha atthavisati nayaka Sabbe patitthita mayham matthake te munissara

The twenty-eight Buddhas, one of whom was Tanhankara Buddha, were true leaders of the world. May the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) each and every one of those wise sages be dwelling upon the crown of my head.

3. Sise patitthito mayham Buddho Dhammo davilocane Sangho patitthito mayham Ure sabbagunakaro

May the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of all the Buddhas be enshrined on my head and in my eyes their Sacred Teachings; in my heart the community of noble disciples of the Blessed One who are the spring of all virtues.

4. Hadaye me Anuruddho Sariputto ca dakkhine, Kondanno pitthibhagasmim Mokkallano ca vamake

May the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of the Anuruddha Thera dwell in my heart; Sariputta Thera the Chief Disciple at my right side; the Elder Kondanna at the back and Mokkallana the other Chief Disciple be at the left.

5. Dakkhine savane mayham asum Ananda Rahulo, kassapo ca Mahanamo Ubhasum vamasotake

Likewise, may the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thiry Aspects of Parami) of the Ananda and Rahula protect my right ear, whilst my left ear is protected by Kassapa and Mahanama.

6. Kesato pitthibhagasmim suriyo va pabhankaro Nisinno sirisampanno Sobhito munipungavo

May the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of the mighty sage, Sobhita, seated in all his glory, like the blazing sun, protect every hair-tip on my back.

7. Kumarakassapo dhero mahesi cittavadako, So mayham vadane niccam patitthasi gunakaro

May the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of the Kuamara Kassapa Thera, the one who seeks the greatest virtues, commands fine speech and is the spring of fine virtues, always be the guardian of my mouth.

8. Punno Angulimalo ca Upali Nanda Sivali thera panca ime jata nalate tilaka mama

May the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of the these five Elders: Punna Thera, Angulima Thera, Upali Thera, Nanda Thera and Sivali Thera, be just like the auspicious marking anointed on my forehead.

9. Sesasiti mahathera vijita jinasavaka Etesiti mahathera jitavanto jinorasa Jalanta silatejena angamamgesu santhita

May all the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of the other eighty great disciples and sons of the Buddha, the Victorious One, who have defeated all their defilements and prosper by the moral disciplines they adhere to, be within all the minor and major organs of mine.

10. Ratanam purato asi dakkhine mettasuttakam Dhajaggam pacchato asi vame Angulimalakam

May the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of the Rattana Sutta remain to my front; may the Metta Sutta be at my right side; may the Dhajagga Sutta remain at the back and may Angumala Sutta remain at my left.

11. Khandhamoraparittanca atanatiyasuttakam Akase chadanam asi sesa pakarasanthita

May all the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of the Khandha Paritta, Mora Paritta, Atanatiya Paritta and the rest form the sheltering frame for me; just like the canopy above me or the wall around me.

12. Jinanavarasamyutta sattappakaralankata Vatapittadisanjata bahirajjhattupaddava

May all the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of the sublime Dhamma, which is the power of the Bra Paramis of the Victorious One, be adorned upon me just like a seven-layer-wall protecting me from all outside and inside dangers or perils which may arise from whatever natural causes, wind or bile, so that none of these dangers remain.

13. Asesa vinayam yantu anantajinatejasa Vasato me sakiccena sada sambuddhapanjare

Let all the remaining illness be got rid of by the power of the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of the Victorious One whose virtues are endless; all throughout the time when I still observe the moral disciplines of such a moral person like, for example, the Buddha.

14. Jinapanjaramajjhamhi viharantam mahitale Sada palentu mam sabbe te mahapurisa sabha

May all the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) those great and brave Noble Ones who live in the midst of the Victorious One on this earth protect and guard me.

15. Iccevamanto sugutto surakkho Jinanubhavena jitupaddhavo Dhammanubhavena jitarisangho Sanghanubhavena jitantarayo Saddhammanubhavapalito carami jinapanjareti.

Indeed, thus am I well protected as all the distresses have been rid of by the radiance of the Bra Paramies (the Ten and Thirty Aspects of Parami) of the Victorious One; so may whatever potential dangers there may be in the future be eliminated by the power of the Dhamma and the Sangha; may the same power of the truth of the Dhamma Teaching of The Buddha, based on The Triple Gem, protect and guide me so that I and other people can live and thrive in the path of the Victorious One.

(The English text is for reference only - you should recite the Pali text) 13/04/2017 12:10:45., 15/04/2017 13:16:45., 17/04/2017 20:45:45.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

18. บทแผ่เมตตา – ให้ตัวเอง

อะหัง สุขิโต โหมิ – ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข

อะหัง นิททุกโข โหมิ – ขอให้ข้าพเจ้าปารศจากทุกข์

อะหัง อะเวโร โหมิ – ขอให้ข้าพเจ้าปารศจากเวร

อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ – ขอให้ข้าพเจ้าปารศจากความเบียดเบียน

อะหัง อะนีโฆ โหมิ – ขอให้ข้าพเจ้าปารศจากทุกข์กายทุกข์ใจ

สุขี อัตตานัง ปริหะรามิ – ขอให้ข้าพจงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเทอญ

Return to top

18.1. Aspiration – to one's own self

Aham sukkhito homi – May I be happy.

Aham niddukkho homi – May I not be unhappy.

Aham avero homi – May I be without enmity.

Aham abyapajjho homi – May I be without malevolence.

Aham anigho homi – May I be without physical or mental suffering.

Sukhi attanam pariharami – May I be happy in both body and mind. May I be happy to protect myself from danger.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

[๗๕๕] อัปปมัญญา ๔ คือ - เมตตาวิปากฌาน จตุกกนัย / [๗๖๐] อัปปมัญญา ๔ คือ - เมตตากิริยาฌาน จตุกกนัย / ๑๓. อัปปมัญญาวิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ - เมตตาอัปปมัญญานิเทศ / พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๒ - วิภังคปกรณ์ / เมตตาสูตรที่ ๑ / เมตตาสูตรที่ ๒ / พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ - อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต / ยุคนัทธวรรค เมตตากถา - สาวัตถีนิทาน / ยุคนัทธวรรค เมตตากถา-สาวัตถีนิทาน 3 / พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๓ - ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค Updated: 22/07/2016 22:15:45.

18.2. บทแผ่เมตตา – ให้สรรพสัตว์

สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ – สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด

อะเวรา โหนตุ – อย่าได้มีเวรแก่กันเลย จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด

อัพยาปัชฌา โหนตุ – อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด

อะนีฆา โหนตุ – อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ – จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเทอญ

18.3. Aspiration – to all beings

Sabbe satta sukhi hontu – May all beings who are subject to birth, aging, disease and death, be happy.

Avera hontu – May they be without enmity.

Abyapajjha hontu – May they be without malevolence.

Anigha hontu – May they be without physical or mental suffering.

Sukhi attanam pariharantu – May they be happy in both body and mind. May they be able to protect themselves from danger.

18.4. บทอุทิศส่วนกุศล

อิทังเม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้าจงมีความสุข

อิทังเม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติของข้าพเจ้าจงมีความสุข

อิทังเม คุรูปัชฌายาจะริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจะริยา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์ อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์ อาจารย์ของข้าพเจ้ามีความสุข

อิทัง สัพพะเทวานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข

อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข

อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข

อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข

18.5. Transference of Merit

Idam me matapitunam hotu sukkhita honto matapitaro
May this merit accrue to my mother and my father; may they be happy.

Idam me natinam hotu sukhita hotu natayo
May this merit accrue to all my relatives; may they be happy.

Itam me gurupajjhayacariyanam hontu gurupajjhayacariya
May this merit accrue to my teachers and my preceptor; may they be happy.

Idam sabbapetanam hotu sukhita hontu sabbe peta
May this merit accrue to all hungry ghosts; may they happy.

Idam sabbaverinam hotu sukhita sabbe satta
May this merit accrue to all beings; may they be happy.

19. ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตัง

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

มหาขันธกะ โพธิกถา ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ /๖. ปัจจยาการวิภังค์ สุตตันตภาชนีย์ / ๔. ปริวัฏฏสูตร - ว่าด้วยการรู้อุปาทานขันธ์โดยเวียนรอบ ๔

เรื่องพระปัญจวัคคีย์ / ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ปฐมเทศนา / ปัญจวัคคีย์ทูลขอบรรพชาอุปสมบท / ทรงแสดงอนัตตลักขณสูตร Updated: 22/07/2016 21:15:45.

ตามเหตุอันควรตามความเป็นจริง สำหรับ www.84000.org ไม่ควรเปิดโอกาศให้กลุ่มบุคคลเหล่านั้น ฯ คัดลอกพระไตรปิฎกจากพระสูตรนั้นๆ ฯ แล้วจัดทำการเรียบเรียงใหม่ จากนั้นได้กล่าวอ้างต่อที่สาธารณะว่านั่นคือ เป็นผลงานของพวกเขาร่วมกันจัดการแปลขึ้น ทั้งๆ ที่ ต่างได้ทำการคัดลอกโดยตรงจากพระไตรปิฎกเล่มนั้น ฯ เช่น โดยเฉพาะพระสูตร "ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง" ดังนี้แล ฯ เพราะเท่ากับเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลเหล่าดังกล่าวมานี้นั้น ฯ เป็นต้น ฯ ทำการกล่าวตู่เบียดเบียน "พระไตรปิฎก" ได้อย่างอยุติธรรม ฯ เพราะจะเป็นสิ่งนำมาซึ่งสาเหตุทำให้เหล่าบุคคลที่ไม่เคารพศรัทธาต่อ "พระธรรมคำสั่งสอนแด่พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ อันมีคุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ เป็นคุณพระศรีรัตนตรัยเป็นองค์พระปฐมสูงสุดอันหาที่สุดมิได้ ฯ" อย่างแท้จริงนั้น ฯ จะต้องมีการทำการเบียดเบียนแอบอ้างกล่าวตู่ทวงคุณต่อ "พุทธบริษัท ๔" ทั้งหลายเหล่านั้น ฯ ที่ต่างได้ศึกษาเล่าเรียนและปฏิบัติตามพระสูตรนั้น ฯ เป็นต้น ฯ อย่างหลีกเลี่ยงมิได้แล ฯ / เพลง ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (บาลี/ไทย) Note: I do not always agree with the song tune in the Suttas/Sutras. However, for this time, I will only agreed and accepted this song tune which made from this Sutta/Sutra. Updated: 06/06/2018 09:41:45., 06/06/2018 09:51:45., 21/06/2018 09:48:45.

Note: ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความจริง ๔ อย่าง อันทำให้ใจห่างไกลจากกิเลสนี้ ถ้าหากเรายังไม่รู้เห็นตามความเป็นจริง โดยอาการหมุนเวียนแห่งปัญญาญาณ ครบ ๓ รอบทั้ง ๔ อย่าง รวมเป็นอาการ ๑๒ รอบ: อาการ ๑๒ รอบนี้ เรียกว่า ญาณ ๓ คือ ปฏิจจสมุปบาท หรือ กฎของอิทัปปัจจยตา คือหัวใจของ กฎปฏิจจสมุปบาท ซึ่งเป็นอริยสัจ ๔ ฉบับย่อนั่นเอง:
1. สัจจญาณ: การหยั่งรู้ให้ทราบชัดในความจริงแต่ละอย่างในความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ว่าเป็นทุกข์แท้จริง ตัณหาคือเหตุเกิดทุกข์แท้จริง การดับตัณหาคือการดับทุกข์ได้แท้จริง มรรคคือ ทาง ๘ ประการเป็นข้อปฏิบัติให้ทุกข์ดับไปจากใจได้อย่างแท้จริง
2. กิจจญาณ: การหยั่งรู้ให้ทราบชัดว่า จะต้องทำอย่างไรกับความจริงแต่ละอย่างนั้น ว่าตัวทุกข์ควรต้องกำหนดรู้ตลอดเวลา ตัณหาต้องละให้ขาด การดับตัณหาเป็นสิ่งที่ต้องทำให้แจ้งในใจตลอดเวลา มรรค ๘ เป็นธรรมที่ต้องทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลา และ
  3. กตญาณ: การหยั่งรู้ว่าได้ทำหน้าที่ทุกอย่างในความจริงแต่ละอย่างนั้นได้โดยบริบูรณ์แล้ว คือ ทุกข์รู้ด้วยปัญญาโดยตลอดแล้ว ตัณหาได้ละขาดไปจากใจแล้ว การดับตัณหาได้ทำให้แจ้งในใจตลอดเวลาแล้ว มรรค ๘ ได้ทำให้มีในใจไว้ตลอดเวลาแล้ว

ธัมมะจักรกัปปวสูตรนี้เห็นว่าควรสวดสาธยายเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นพระเทศนากัณฑ์แรกที่พระพุทธองค์ได้ทรงตรัสเทศนาแสดงโปรดนักบวชปัญจวัคคีย์ และเป็นวงล้อที่หมุนเป็นครั้งแรก ของพระพุทธศาสนา ส่งผลถึงผู้สวดเกิดความรู้ความเข้าใจใน "อริยะสัจจ์ ๔ และ มรรคมีองค์ ๘" เพื่อเจริญสติสัมปชัญญะก่อเกิดปัญญาให้รู้เท่าทันเหตุปัจจัยที่มาแห่งทุกข์ และหนทางแห่งความพ้นทุกข์ได้เร็วยิ่งๆ ขึ้นแล ฯ

20. อานิสงส์พระอาการวัตตสูตร

พระอาการวัตตาสูตร ณ เวลานี้ ยังไม่สามารถหาหลักฐานอ้างอิงของแหล่งที่มาของพระสูตรนี้ ได้ชัดเจนว่ามีต้นฉะบับมาจากแหล่งใด แต่ตามความเข้าใจของข้าพเจ้า ซึ่งดูเป็นลักษณะของการรวบรวมพระสูตรต่างๆ เข้าด้วยกัน จากครูบาอาจารย์เจ้าผู้ทรงคุณในอดีตกาล และมีความรู้ชำนาญทางด้านพระบาลีเป็กรณีนพิเศษ พระท่านจึงสามารถรวบรวมพระสูตรต่างๆ เข้าด้วยกันได้อย่างสะละสะลวยครบพร้อมทั้ง อักขระพยัญชนะ ชัดถ้อยคำพร้อมทั้งได้ ความหมายและความศักดิ์สิทธิ์ของพระสูตรได้อย่างลงตัวแล ฯ Updated: 21/06/2018 04:08:45.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

20.1/20.2. พระอาการวัตตาสูตร

บทนำ หันทะ มะยัง อาการะวัตตสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส

๑.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู
อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
อิติปิ โส ภะคะวา สัตถาเทวะนุสสานัง
อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ ภะคะวาติ
พุทธะคุณะวัคโค ปะฐะโม (จบวรรค ๑)

๒.
อิติปิ โส ภะคะวา อะภินิหาระ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อุฬารัชฌาสะยะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะณิธานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา มะหากะรุณา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะโยคะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ยุติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ชุตติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะโอกกันติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะฐิติ ปาระมิสัมปันโน
อะภินิหาระวัคโค ทุติโย ปาระมิสัมปันโน (จบวรรค ๒)

๓.
อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะวุฏฐานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะมะละวิระหิตะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อุตตะมะชาติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คะติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะภิรูปะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สุวัณณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา มะหาสิริ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อาโรหะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะริณามะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวาสุนิฏฐะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะวุฏฐานะวัคโค ตะตะโย (จบวรรค ๓)

๔.
อิติปิ โส ภะคะวา อะภิสัมโพธิ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สีละขันธะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะมาธิขันธะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญญาขันธะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทะวัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
ภิสัมโพธิวัคโค จะตุตโถ (จบวรรค ๔)

๕.
อิติปิ โส ภะคะวา มะหาปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุถุปัญญาปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา หาสะปัญญาปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ชะวะนะปัญญาปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ติกขะปัญญาปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา นิพเพธิกะปัญญาปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะจักขุปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อัฏฐาระสะพุทธะกะระปาระมิสัมปันโน
มะหาปัญญาวัคโค ปัญจะโม (จบวรรค ๕)

๖.
อิติปิ โส ภะคะวา ทานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สีละ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เนกขัมมะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิริยะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ขันติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัจจะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะธิฏฐานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เมตตา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวาอุเบกขา ปาระมิสัมปันโน
ปาระมิวัคโค ฉัฏโฐ (จบวรรค ๖)

๗.
อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะอุปะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะปะระมัตถะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะมะติงสะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ตังตังฌานะฌานังคะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะภิญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะมาธิ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิมุตติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิมุตติญาณะทัสสะนะ ปาระมิสัมปันโน
ทะสะปาระมิควัคโค สัตตะโม (จบวรรค ๗)

๘.
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิปัสสะนาญาณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา มะโนมะยิทธิวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อิทธิวิธิวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทิพพะโสตะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะระจิตตะ ปะริยะญาณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทิพพะจักขุวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อาสะวักขะยะญาณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะระณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะนุปุพพะวิหาระ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาวัคโค อัฏฐะโม (จบวรรค ๘)

๙.
อิติปิ โส ภะคะวา ปะริญญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะหานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ภาวนา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะริญญาปะหานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุธัมมะสัจจะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะฏิสัมภิทาญาณ ปาระมิสัมปันโน
ปะริญญาวัคโค นะวะโม (จบวรรค ๙)

๑๐.
อิติปิ โส ภะคะวา โพธิปักขิยะธัมมะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะติปัฏฐานะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมัปปะธานะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อิทธิปาทะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อินทรียะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พะละปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา โพชฌังคะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อฏฐังคิกะมัคคะธัมมะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา มะหาปุริสะกิริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาวะระณะวิโมกขะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหตตะผะละวิมุตติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา โพธิปักขิยะธัมมะวัคโค ทะสะโม (จบวรรค ๑๐)

๑๑.
อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะพะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ฐานาฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิปากะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัพพัตถะคามินีปะฏิปะทาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา นานาธาตุญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัตตานังนนาธิมุตติกะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อินทรียะปะโรปะริยัตติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา นิโรธะวุฏฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จุตูปะปาตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อาสะวัคคะยะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะพะละญาณะวัคโค เอกาทะสะโม (จบวรรค ๑๑)

๑๒.
อิติปิ โส ภะคะวา โกฏิสะหัสสานัง ปะโกฏิสะหัสสานัง หัตถีนัง พะละธะระ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะโกฏิทะสะ สะหัสสานัง พะละธะละ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะจักขุญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะกะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สีละคุณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คุณะปาระมิสะมาปัตติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญญาคุณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา กายะพะละวัคโค ทะวาทะสะโม (จบวรรค ๑๒)

๑๓.
อิติปิ โส ภะคะวา ถามะพะละ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ถามะพะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พะละ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะตุละยะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อุสสาหะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คะเวสิญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ถามะพะละวัคโค เตระสะโม (จบวรรค ๑๓)

๑๔.
อิติปิ โส ภะคะวา จะริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา โลกัตถะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา โลกัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ญาตัตถะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ญาตัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ติวิธะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปาระมิอุปะปาระมิ ปะระมัตถะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะริยาวัคโค จะตุททะสะโม (จบวรรค ๑๔)

๑๕.
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุ ทุกขะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุ อะนัตตะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อายะตะเนสุ ติลักขะณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อัฏฐาระสะธาตูสุ ติลักขะณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิปะริณามะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ลักขะณะวัคโค ปัญจะทะสะโม (จบวรรค ๑๕)

๑๖.
อิติปิ โส ภะคะวา คะตัฏฐานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คะตัฏฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วะสีตะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วะสีตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สิกขา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สิกขาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สังวะระ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สังวะระญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คะตัฏฐานะวัคโค โสฬะสะโม (จบวรรค ๑๖)

๑๗.
อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะปะเวณิ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะปะเวณิญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุพรหมะวิหาระ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาวะระณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะปะริยันตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัพพัญญุตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุวีสะติ โกฏิสะตะวะชิระญาณะ ปาระมิสัมปันโน
ปะเวณิวัคโค สัตตะระสะโม (จบ ๑๗ วรรคบริบูรณ์)

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

21. ยอดพระกัณฑ์พระไตรปิฎก

๑.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วะตะโส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วะตะโส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วะตะโส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วะตะโส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วะตะโส ภะคะวา.

อะระหัน ตัง สะระณัง คัจฉามิ.
อะระหัน ตัง สิระสา นะมามิ.
สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ.
วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณัง คัจฉามิ.
วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ.
สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ. สุคะตัง สิระสา นะมามิ.
โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ. โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ.

๒.
อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วะตะโส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วะตะโส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วะตะโส ภะคะวา.
อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วะตะโส ภะคะวา.

อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ. อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ.
ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ. ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ.
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ. สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา.
นะมามิ. พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. พุทธัง สิระสา นะมามิ. อิติปิ โส ภะคะวา. ฯ

๓.
อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน.

๔.
อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวี ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อาโป ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา เตโช ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วาโย ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา จักกะวาฬะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.

๕.
อิติปิ โส ภะคะวา จาตุมมะหาราชิกา ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติสา ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ยามา ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตา ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระตี ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะรูปาวะจะระ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา โลกุตตะระ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.

๖.
อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.

๗.
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา เนวะสัญญาญาสัญญายะตะนะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.

๘.
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติมัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิมัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิมัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะมัคคะ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละ ธาตุ สะมาธิญาณะสัมปันโน.

๙.
กุสะลาธัมมา อิติปิ โส ภะคะวา อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ชมภูทีปัญจะ อิสสะโร กุสะลาธัมมา นะโมพุทธายะ นะโมธัมมายะ นะโมสังฆายะ
ปัญจะพุทธา นะมามิหัง อาปามะจุปะ ทีมะสังอังขุ สังวิธาปุกะยะปะ อุปะสะชะ สุเหปาสายะโส. ฯ

โสโสสะสะ อะอะอะอะนิ เตชะสุ เนมะภูจะนาวิเว อะสังวิสุโล ปุสะภุพะ อิสวาสุ สุสวาอิ กุสะลาธัมมา จิตติวิอัตถิ.

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สาโพธิปัญจะ อิสาะโร ธัมมา.

กุสะลาธัมมา นันทะวิวังโก อิติ สัมมาพุทโธ สุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.

๑๐.
จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลาธัมมา อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน
อุอุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.

ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลาธัมมา นันทะปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.

ยามา อิสสะโร กุสะลาธัมมา พรหมมาสัททะ ปัญจะสัตตะ สัตตาปาระมี อะนุตตะโร ยะมะกะขะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.

ตุสิตา อิสสะโร กุสะลาธัมมา ปุยะปะกะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.

นิมมานะระติ อิสสะโร กุสะลาธัมมา เหตุโปวะ สัตถา เทวะมะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.

ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี อิสสะโร กุสะลาธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตา
รูปะขันโธ พุทธะปะผะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.

พรหมมา อิสสะโร กุสะลาธัมมา นัตถิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ. ฯ

๑๑.
นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ. ฯ

นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ มิตติ
จิตติ จิตติ วัตติ วัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมสาวัง มะหาพรหมสาวัง
จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง
อิสีสาวัง มะหาอิสีสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสะสาวัง
มะหาสัปปุริสะสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง
สัพพะสิทธิวิชชาธาระนังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

สาวัง คุณัง วะชะพะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิ กัมมัง สัจจัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง
ทานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ยะสัง ตัปปัง สุขัง สิริรูปัง จะตุวีสะติเทสะนัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

๑๒.
นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ
สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปิโส ภะคะวา.

นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ
สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม.

นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ
สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง.

นะโมพุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะตัสสะ หาโยโมนะ อุอะมะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุอะมะอะ วันทา นะโมพุทธายะ นะอะกะติ นิสะระณะ
อาระปะขุทธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา​. ฯ

Note: Significantly, people should never have tattoos quoting Pakatas or any Highest words or texts from the Dhamma Teaching. Whatever happens, if they do this, it's proving the quality of their knowledge about Buddhism is simply, 'It is what it is' and 'What it should be'. If they still carry on get such tattoos it proves that they are misunderstanding the reality of Buddhism and are disrespectful to the Dhamma Teaching of the Gautama Buddha based on the Triple Gem (The Buddha, The Dhamma and The Sangha) and it hurts Buddhists. In consideration of, such the real Buddhist, like me will have found very hard to hear and learn that they were having sex with their lovers, whilst they are wearing tattoos with quoting the Highest of the Dhamma words of The Buddha or The Name of The Previous Buddhas and The Present Buddha. Also, first and foremost, at the same time that they are coincidentally bringing very bad kramas or bad deeds to themselves by mistakes without realised. Updated: 25/06/2017 21:05:45., 04/07/2017 17:34:45., 06/06/2018 10:46:45., 22/07/2016 21:15:45., 23/10/2017 16:41:45., 23/10/2017 22:05:51-54-55-56-57-58-59.

พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม

Any merit that arises from this website is shared with all of the truly honest site's visitors.

ด้วยผลบุญที่สำเร็จแก่ข้าพเจ้าผู้จัดทำผลงานอันเป็นมหากุศลนี้เพียงใด ขอผลบุญนี้จงสำเร็จแก่ท่านผู้อ่านและท่านที่บอกต่อด้วยความเชื่อและศรัทธา ซื่อสัตย์ สุจจริต บริสุทธิ์จริงใจ ต่อข้าพเจ้า รุ่ง/รุ้งกิ๊บ/Gift (นางสาว บวรลักษณ์ กริ่งวสุพลศิริหรือMiss Bawwarwnrak Kringwasutponziry) ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ www.buddhamap.org เ พียงนั้นเทอญ ฯ สาธุ สาธุ สาธุ ฯ

หมายเหตุ: การเผยแพร่ "พระธรรมคำสั่งสอนแด่พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า โคดมหรือโคตมะพุทธเจ้า (Gautama Buddha) ฯ หรือ พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ฯ" ทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างถูกต้องยุติธรรม ฯ ย่อมเพิ่มพูนผลบุญอานิสงค์อันเป็นไปเพื่อความมีประโยช์เกื้อกูลที่ท่าน "พุทธบริษัท ๔" ทั้งหลายจะได้รับประโยชน์แห่งอานิสงค์ผลบุญนั้น ย่อมมีค่ามหาศาลอันคำนวนนับค่าประมาณมิได้ ฯ ทั้งในปัจจุบันชาติและอนาคตชาติเบื้องหน้าถัดต่อไปแล ฯ โดยเฉพาะท่าน "พุทธบริษัท ๔" ทั้งหลาย ควรแนะนำเผยแพร่ ฯ ด้วยการให้ชาวโลกเข้าถึง BuddhaMap.org 2013 อย่างไม่จำกัด ฯ ซึ่งจะยิ่งเพิ่มค่าผลบุญบารมีอันมหาศาลอันประเมินค่ามิได้ยิ่งๆ ขึ้นไปดีนักแล ฯ และควรปฏิบัติไปพร้อมๆ กับการเผยแพร่ "พระธรรมคำสั่งสอนแด่พระพุทธองค์นั้น ฯ" นับต่อแต่จากนี้เป็นต้นไปและตลอดทั่วทั้ง "พระพุทธกาลกัปป์แด่พระพุทธองค์ ฯ" เทอญ ฯ สาธุ สาธุ สาธุ ฯ

Very importantly, people who distribute the True Dhamma Teaching of The Gautama Buddha through the Buddhamap.org will definitely gain very great Parami (great good deeds) from it. Oppositely, people who distribute the True Dhamma Teaching of the Gautama Buddha of the Buddhamap.org but falsely claim that it belongs to someone else instead of the true author and they will gain very little Parami and afterwards will have to pay back very severe karma (very heavy bad pain) and it is illegal to do so. The real author is Miss Bawwarwnrak Kringwasutponziry/(Gift/กิ๊บ) น.ส. บวร ลักษณ์ กริ่งวสุพลศิริ . Place of birth: Nong Khai Province. Registered date of birth on Tuesday 17th April 1979. Real date of birth is around 06:09:45am on Thursday 6th September 1979, on a full moon. The Sun rose at 5:55:45am in Nong Khai province on that day based on Google search. Updated: 27/04/2017 14:55:45-51-54-55-56-57-58-59.

Essentially, no one can claim that they are the co-author of the Buddhamap.org and claim in front of people and in public that they are parts of me reborn - it is illegal to do so. Also very importantly, it is illegal for people to claim that only they have the authority and permission to translate and distribute the True Dhamma Teaching of The Gautama Buddha based on the Triple Gem - The Buddha, The Dhamma and The Sangha. [๕๗๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย มิตรผู้ประกอบด้วยองค์ ๓ ควรคบไว้ องค์ ๓ เป็นไฉน คือ ให้สิ่งที่ให้ได้ยาก ๑ ช่วยทำสิ่งที่ทำได้ยาก ๑ อดทนสิ่งที่ทนได้ยาก ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย มิตรผู้ประกอบด้วยองค์ ๓ นี้แล ควรคบไว้ ฯ มิตตสูตร / พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต

[575] Here say monks! The person who is considered to have the foundation of the Three Scenarios has experienced very tough predicaments the person entire life. You should make true friends with the person and truly honest to respect with the person, too.

The first scenario is, 'The fact that it's beyond the knowledge of normal people to give things away to support and comfort other people without expecting anything back from them, in the context of the Dhamma Teaching (of the Gautama Buddha). Execute your duties and seek your salvation and give unstinting effort to pursue the Dhamma Teaching diligently which will go beyond the cycle of reincarnations and will end your suffering from the worldly life of dichotomies onward to Nirvana or Nippana.'

Secondly, it is beyond normal people's imagination to consider the fact of how to volunteer to help, support and comfort people, especially through the Dhamma Teaching (of the Gautama Buddha), without expecting to gain benefit from people but only to, 'Execute your duties and seek your salvation and give unstinting effort to pursue the Dhamma Teaching diligently which will go beyond the cycle of reincarnations and will end your suffering from the worldly life of dichotomies onward to Nirvana or Nippana', as the second Scenario.

The Third Scenario, also beyond the imagination of normal people, is the fact of how one person is forced to endure the circumstances that person life sinking and plunging into an abyss of violence from selfishness, jealousy, crime and lawlessness of the person entire life to manage to gain the good deeds. This is greatest far out-of-the-way of the end of rainbow and it's beyond the bounds good deeds of normal humans/people. The person who still manages to survive and execute the first two scenarios. You should make true friends with the person and truly honest to respect with the person, too. มิตตสูตร/The true friendship / พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต

Note: I feel every government from every country ought to find a way of reducing the violence from selfishness, jealousy, hatred, vengeful thought, disdainful, insulting, stalking, lust, greed and crime. In due course they should introduce the Dhamma Teaching of the Guatama Buddha to the people for intensive learning at their convenience.

However, some countries need to listen to the people more rather being arrogant. They should spend less time talking, be less corrupt and spend more time 'doing'. They must find a way to reduce crime and somehow they've got to spend more time and money on health, education and other things which are necessary for the public. They also ought to find ways of encouraging people to gain the right education, this is based on the www.buddhamap.org in which suited to their interests. Updated:10/01/2013 13:51:41-45-51-54-55-56-57-58-59., 16/08/2016 18:51:45-51., 06/02/2023 17:51:41-45-51-54-55-56-57-58-59., 14/08/2023 22-23:11-13-45-51-56:41-45-51-54-55-56-57-58-59., 22/08/2023 16:11-13-22:41-45-51-54-55-56-57-58-59., 13/11/2023 13-22:22:22-41-45-51-54-55-56-57-58-59.